Blog 18
OHSAS18001:2007 ปรับเปลี่ยนไปเป็น ISO45001:2018
ISO14001:2015, ISO45001:2018
ISO31000:2018 การบริหารความเสี่ยง ISO&IATF
ISO14971:2019 RM for Medical Devices
IATF16949:2016, ISO19011:2018 Internal Auditor
Control of Documented Information ทุก ISO
มาตรฐานใหม่ฉบับนี้ประกาศใช้แล้วเมื่อวันที่ 12 มีนาคม 2018
In-House Training and Consulting
ออกใบ Certificate ให้ผู้เข้าอบรมจริงทุกท่าน ค่าฝึกอบรมสามารถนำไปลดหย่อนภาษีได้
บทความด้านระบบการจัดการต่างๆของ McQMR และ Soonthorn Ngamprompong หรือ ของสุนทร งามพร้อมพงศ์ (อาจารย์ศรราม) เป็นลิขสิทธิ์ของบริษัท KS NATION CONSULTANT CO.,LTD. ห้ามสำเนาและคัดลอกโดยไม่ได้รับอนุญาต Copy Right, All Rights Reserved.
กรณีสงสัยสอบถามได้ที่ E-Mail: ksnationconsultant@hotmail.com ฟรี
OHSAS18001:2007 ปรับเปลี่ยนไปเป็น ISO45001:2018
บริษัท เค เอส เนชั่น คอนซัลแตนท์ จำกัด
KS NATION CONSULTANT CO.,LTD.
เลขที่ 823/28 ถนนพรหมาสตร์ ตำบลบางปลาสร้อย อำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี 20000
ติดต่อ K.NAT K.Sun Mobile: 081 3029339, 081 6493828, 083 2431855
E-Mail: ksnationconsultant@hotmail.com, isoiatf@hotmail.com
Bangkok Fax: 02 7441859
Line ID: iatf16949
E-Mail: ksnationconsultant@hotmail.com, isoiatf@hotmail.com
Bangkok Fax: 02 7441859
Line ID: iatf16949
ให้คำปรึกษาและอบรมทุกระบบ ISO
ให้บริการเป็น QMR/EMR/OHSMR สำหรับ SME
รักษาระบบ ISO แทนตำแหน่งที่รอสรรหา
ให้บริการเป็น QMR/EMR/OHSMR สำหรับ SME
รักษาระบบ ISO แทนตำแหน่งที่รอสรรหา
"นึกถึงไอโซ่ เซฟตี้ โทรหา"
081 3029339 ติดต่อ QMR & เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยวิชาชีพ
ณ วันนี้ ระบบบริหารคุณภาพ ค่อนข้างจะนิ่ง ไม่เปลี่ยนแปลง
ISO9001:2015 ยังน่าจะใช้รับรองอีกสักระยะ ไม่ปรับเวอร์ชั้น
แต่ด้านความปลอดภัยกับด้านแรงงาน น่าจะมีความเข้มงวดขึ้น
วันที่ 1 มิถุนายน 2565 PDPA: Personal Data Protection Act
วันที่ 10 มิถุนายน 2565 จะมีผลบังคับใช้ โรงงานที่มีพนักงาน
ตั้งแต่ห้าสิบคนขึ้นไป ต้องมีจัดทำมาตรฐานระบบการจัดการ
อาชีวอนามัย ความปลอดภัย....
ดังนั้นโรงงานที่ได้รับรอง ISO45001:2018 ถือว่า มีครบถ้วนแล้ว
โรงงานที่ต้องมี บุคลากรเฉพาะรับผิดชอบความปลอดภัยการเก็บรักษาวัตถุอันตราย: บฉ ที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมรับผิดชอบ พ.ศ.2551 มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 18 เมษายน 2554 ช่วงนี้คนเข้าทดสอบมาก
โรงงานที่เข้าข่ายนี้ เข้าใจง่ายๆ คือ
1 มีวัตถุอันตราย 1,000,000 กิโลกรัมต่อปี ทั้งผลิต นำเข้า ส่งออก
2 พื้นที่จัดเก็บวัตถุอันตรายตั้งแต่ 300 ตารางเมตรขึ้นไป
3 เข้าข่ายวัตถุไวไฟ สารออกซิไดซ์ และสารเปอร์ออกไซด์
แต่ถ้ามีใช้สารเคมีอันตรายตั้งแต่ 1,000 กิโลกรัมต่อปี
ต้องรายงานกรมโรงงานอุตสาหกรรมทุกสิ้นเดือนมีนาคมของทุกปี
เพิ่มจากที่ส่งรายงาน สอ.1 วัตถุอันตรายให้กระทรวงแรงงาน
ทุกสิ้นเดือนมกราคมของทุกปี
โรงงานที่ตั้งในนิคมอุตสาหกรรม ที่ใช้ก๊าซไวไฟหรือของเหลวไวไฟ
ที่มีปริมาณครอบครองตั้งแต่ 4,545 กิโลกรัม ต้องทำ
PSM: Process Safety Management
เพื่อความปลอดภัยจากไฟไหม้และเกิดการระเบิด
ถ้าทำระบบ ISO จะเข้าใจ มีทำ Internal Audit, Management Review
รวมถึงให้ External Auditor มาตรวจ ณ โรงงาน
หลักสูตรยอดนิยม
Leadership & Supervisory & POKA YOKE
การ์ดไม่ตก ใส่แมส จัดระยะห่าง ล้างมือด้วยเจลเสมอ
ISO9001:2015, ISO13485:2016ISO14001:2015, ISO45001:2018
ISO31000:2018 การบริหารความเสี่ยง ISO&IATF
ISO14971:2019 RM for Medical Devices
IATF16949:2016, ISO19011:2018 Internal Auditor
Control of Documented Information ทุก ISO
ผู้เข้าอบรมที่ผ่านเกณฑ์ KS ออก Training Certificate ให้ทุกท่าน
In-House Training and Consulting
ให้คำปรึกษา จัดทำระบบ อบรมภายใน
หลักสูตร FMEA What’s Change in The New AIAG & VDA 1st Edition 2019.
หลักสูตรบรรยายหนึ่งวันเต็ม บรรยาย DFMEA, FMEA-MSR และ PFMEA
สำหรับโรงงานที่มี Design พนักงานเข้าใหม่ วิศวกรใหม่ หรือผู้สนใจ
หลักสูตรที่สอง การประยุกต์ใช้ PFMEA by AIAG & VDA 1st Edition 2019.
โรงงานส่วนใหญ่ทำ PFMEA ในขอบข่ายการผลิต (Manufacturing)
New FMEA By AIAG & VDA First Edition 2019
AP แทนที่ RPN ติดตามที่ Blog 60 & 63 Click: quality1996-quality1996.blogspot.com/
KS Training and Consulting
ให้คำปรึกษา จัดทำระบบ อบรมภายใน
ราคาพอเพียง ลูกค้าพึงพอใจ
โดยวิทยากรคุณภาพและประสบการณ์ด้าน ISO เป็นเวลาถึง 28 ปี
ผ่านงานทั้ง CB Auditor, QMR/EMR/OHSMR/
Food Safety Team Leader และงานจริงจากโรงงานต่างๆ
"as your require"
หลักสูตรต่างๆ ราคาพิเศษ หรือดูจากโบชัวร์ที่จัดส่งให้
หลักสูตรฝึกอบรม
FMEA What’s Change in The New AIAG & VDA 1st Edition 2019.
การประยุกต์ใช้ PFMEA in The New AIAG & VDA 1st Edition 2019.
ข้อกำหนด การบริหารความเสี่ยง และผู้ตรวจติดตามภายใน
ข้อกำหนด การบริหารความเสี่ยง และผู้ตรวจติดตามภายใน
Requirements, Risk Management, Internal Auditor
ISO9001:2015 QMS
ISO14001:2015 EMS
IATF16949:2016 AQMS
Genius QMR/EMR/SMR
ISO45001:2018 OH&SMS
The Manager & Leadership
ISO/FSSC22000:2018 FSMS
GHP/BRC/HACCP/ ISO17025
7 Quality Management Principles
ISO31000:2018 การบริหารความเสี่ยง
Root Cause Analysis/ 5S/ Walk Rally
การคิดแบบมีตรรกะ (Logical Thinking)
ISO13485 Medical Device/ ISO22301 BCMs
ISO19011:2018 แนะนำแนวทางการตรวจประเมิน
Core Tools: APQP/ PPAP/ FMEA/ SPC/ MSA/ 8D
Genius Supervisory/ ISO & IATF16949 Awareness
Control of Documented Information for ISO/IATF16949
การบริหารการเปลี่ยนแปลง (Management of Change: MOC)
หลักสูตรอื่นๆออกแบบให้ตามที่ต้องการอบรม"as your require"
สำหรับ ISO45001:2018 แตกต่างกับ OHSAS18001:2007
แต่ OHSAS18001:2007 ยังให้การรับรองได้จนถึงวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2021 ดังนั้นตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม 2021 จะมีแต่ ISO45001:2018 เข้ามาแทนที่ สามารถคลิ๊กไปอ่านที่ link http://safetysolving.blogspot.com/
ให้คำปรึกษา จัดทำระบบ อบรมภายใน
ISO9001:2015, ISO14001:2015, OHSAS18001:2007, ISO50001
Risk Management of ISO31000/ Follow of ISO New Version
Internal Audit of ISO19011
Environmental Legal/ Aspect/ Risk Assessment
Risk Management of ISO31000/ Follow of ISO New Version
Internal Audit of ISO19011
Environmental Legal/ Aspect/ Risk Assessment
IATF16949:2016 (TS)/ 8D/ Why Why Analysis
APQP, PPAP, FMEA, MSA, SPC (Integrated 5 Core Tools)
GHP/HACCP/ BRC/IFS/ ISO/FSSC 22000
GMP Asean/ GMP EU/ Primary GMP
GMP Asean/ GMP EU/ Primary GMP
ISO13485, ISO17025, ISO45001, ISO22301 (BCM)
Genius MR (Task of QMR/EMR/OHSMR/EnMR)
SA8000/ ISO26000/ TL9000/ AS9100
The Manager and The Leader (ผู้จัดการและผู้นำ)
Genius Supervisory (หัวหน้างานยอดเยี่ยม)
การสื่อสารสัมฤทธิ์ผล (แนวทางของ ISO และ HO REN SO)
การเพิ่มผลผลิตแบบ Daily Management
การสอนงานแบบ JI (Job Instruction)
Genius MR (Task of QMR/EMR/OHSMR/EnMR)
SA8000/ ISO26000/ TL9000/ AS9100
The Manager and The Leader (ผู้จัดการและผู้นำ)
Genius Supervisory (หัวหน้างานยอดเยี่ยม)
การสื่อสารสัมฤทธิ์ผล (แนวทางของ ISO และ HO REN SO)
การเพิ่มผลผลิตแบบ Daily Management
การสอนงานแบบ JI (Job Instruction)
Document Writing, 5S, Walk Rally
บรรยายหลักสูตรต่างๆและออกแบบหลักสูตรตามที่ท่านต้องการ
ทีมงานพร้อมจัดทำ Pre-Audit, Special Internal Audit และ Supplier Audit
การรวมระบบต่างๆเข้าด้วยกัน
การรวมระบบต่างๆเข้าด้วยกัน
สนใจติดต่อที่ K. Nat, K. Sun
E-Mail : ksnationconsultant@hotmail.com; Mobile :081 3029339, 083 2431855
ISO9001: 2015, IATF16949, ISO13485 QMS - Medical Devices
link ดูจาก http://quality1996-quality1996.blogspot.com/
link ดูจาก http://quality1996-quality1996.blogspot.com/
GHP/HACCP/FSSC/ISO22000/ISO17025 link ดูจาก http://qualitysolving.blogspot.com/
ISO14001, OHSAS18001, SA8000 link ดูจาก http://safetysolving.blogspot.com/
Check List of ISO (MS):link ดูจาก http://McQMRtraining-McQMR.blogspot.com/
หรือ SA8000 Check List link ที่ http://McQMRTraining.blogspot.com/
สำหรับโรงงานที่ต้องการควบคุมและกำจัดสัตว์รบกวนและสัตว์พาหะ ทั้งแมลง ปลวก นก หนูต่างๆสามารถติดต่องาน Pest Control โดย Click: http://www.nanoherb.com
อบรมภายในราคาพิเศษ
สำหรับลูกค้า KS Nation Consultant Co.,Ltd.
Tel: 081 3029339
บทความด้านระบบการจัดการต่างๆของ McQMR และ Soonthorn Ngamprompong หรือ ของสุนทร งามพร้อมพงศ์ (อาจารย์ศรราม) เป็นลิขสิทธิ์ของบริษัท KS NATION CONSULTANT CO.,LTD. ห้ามสำเนาและคัดลอกโดยไม่ได้รับอนุญาต Copy Right, All Rights Reserved.
กรณีสงสัยสอบถามได้ที่ E-Mail: ksnationconsultant@hotmail.com ฟรี
เพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนความรู้ สู่ "โซเชียล ไอโซ่ (Social ISO) เพื่อนแท้ที่แปลกหน้า"
Blog 18 :
(Blog 18: OHSAS/TIS 18001 Check List: 4.6 การทบทวนของฝ่ายบริหาร: Management Review Check List)
First Web Blog ; คือ http://quality1996-quality1996.blogspot.com/ เป็นเรื่องเกี่ยวกับ ISO9001, ISO/TS16949
Second Web Blog ;คือ http://qualitysolving.blogspot.com/ เป็นเรื่องเกี่ยวกับ GMP, IFS, HACCP, ISO22000 (Food Safety Management System: FSMS), ISO17025
Third Web Blog ; คือ http://safetysolving.blogspot.com/ เป็นเรื่องเกี่ยวกับ ISO14001, OHSAS/TIS18001, SA8000, ISO50001
กรณีสงสัยสอบถามได้ที่ E-Mail: McQMR@hotmail.com ฟรี
เพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนความรู้สู่ "โซเชียล ไอโซ่ (Social ISO) เพื่อนแท้ที่แปลกหน้า"
ค้างคาวแม่ไก่ เกาะตามกิ่งไม้ที่วัดโพธิ์ อำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทรา ไปตามเส้นทางจากแปดริ้ว-กบินทร์บุรี ถึงสี่แยกบางคล้าให้เลี้ยวซ้ายเข้าไปหกกิโลเมตร |
OHSAS18001:2007 Req 4.6 การทบทวนของฝ่ายบริหาร (Management Review Check List)
ISO45001:2018 ข้อกำหนด 9.3
ISO45001:2018 ข้อกำหนด 9.3
สิ่งที่ขอดูและต้องตรวจสอบ เช่น
* โรงงานจัดทำระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับการประชุมทบทวนของฝ่ายบริหาร: Management Review Meeting Procedure) หรือยัง และนำไปปฏิบัติจริงหรือไม่ (Implementation)
* การประชุมทบทวนของฝ่ายบริหาร (Management Review Meeting) ทำปีละกี่ครั้ง ความถี่ของการประชุมและการติดตามปัญหาด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ดำเนินการอย่างไร
(รายละเอียดเกี่ยวกับการประชุมทบทวนของฝ่ายบริหาร (Management Review Meeting) สามารถย้อนกลับไปศึกษาที่ Blog ที่ 4 ของ ISO9001: QMS Check List ใน Web Blog คือ
http://quality1996-quality1996.blogspot.com/ ใช้หลักการเหมือนกัน ให้มุ่งไปที่ด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
ผู้เขียนจึงย้ำน้องๆนิสิตนักศึกษาว่า ให้ศึกษา ISO 9001 ให้ชำนาญและเข้าใจ สามารถนำไปต่อยอดในทุกระบบการจัดการได้ โรงงานส่วนใหญ่ ทำมากกว่าหนึ่งระบบการจัดการ เช่น ทำ ISO 9001 ควบคู่กับทำ ISO 14001 หรือทำ ISO 9001 ควบคู่กับทำ ISO 22000/HACCP หรือ ทำ ISO/TS 16949 ควบคู่กับทำ ISO 14001 บางโรงงานขนาดใหญ่ทำทั้งสามระบบคือ ISO9001, ISO14001, OHSAS/TIS18001 อื่นๆ)
http://quality1996-quality1996.blogspot.com/ ใช้หลักการเหมือนกัน ให้มุ่งไปที่ด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
ผู้เขียนจึงย้ำน้องๆนิสิตนักศึกษาว่า ให้ศึกษา ISO 9001 ให้ชำนาญและเข้าใจ สามารถนำไปต่อยอดในทุกระบบการจัดการได้ โรงงานส่วนใหญ่ ทำมากกว่าหนึ่งระบบการจัดการ เช่น ทำ ISO 9001 ควบคู่กับทำ ISO 14001 หรือทำ ISO 9001 ควบคู่กับทำ ISO 22000/HACCP หรือ ทำ ISO/TS 16949 ควบคู่กับทำ ISO 14001 บางโรงงานขนาดใหญ่ทำทั้งสามระบบคือ ISO9001, ISO14001, OHSAS/TIS18001 อื่นๆ)
หากทำการตรวจประเมินจริง สิ่งเหล่านี้มีโอกาศพบในโรงงานของท่านเสมอ
แต่ขอปรับคำพูดจาก CAR เพื่อให้เข้าใจมากขึ้น ก็ภาษาของ Auditor บางที่ก็เข้าใจกันในหมู่ผู้ตรวจสอบ
น้องๆพนักงานอาจงง หรือไม่เข้าใจกระจ่าง
# บริเวณโรงจัดเก็บสารเคมี พบว่ามีการหกรั่วไหล ไม่มีถาดรองรับสารเคมีและสารเคมีไหลลงผิวดินและปะปนในน้ำบาดาล
# อาคารจัดเก็บสารเคมีไม่มีขอบกั้น เพื่อรองรับและป้องกันสารเคมีที่รั่วจากถัง (Drum)
# พบว่าโรงเก็บสารเคมีหลังคารั่ว น้ำฝนตกใส่ปะปนสารเคมีทีเลอะด้านล่างของพื้น
# พบสารเคมีและน้ำมันหล่อลื่นหกรั่วไหลในพื้นที่ทำงาน
# การปฎิบัติงานไม่ทำตามข้อกำหนดของกฎหมาย มีการจัดเก็บน้ำมัน สารละเหย (Solvent) ในพื้นที่โรงงานเกินกว่าปริมาณที่อนุญาต
# การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment) ไม่ครอบคลุมทุกพื้นที่
# การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment) ไม่ครอบคลุมทุก Process ของงาน
# ไม่ดำเนินการประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment) ตามระยะเวลาที่กำหนด (TIS18001)
# ไม่ดำเนินการประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment) ทันทีที่เกิดอุบัติเหตุ (Accident; ตามข้อกำหนดของ OHSAS18001 ซึ่งแตกต่างจาก TIS18001)
# การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment) ไม่ถุกต้อง เช่น ไฟฟ้าดูดทำให้เสียชีวิตได้ กลับให้เป็นระดับปานกลาง
# การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment) ไม่ระบุให้ชัดเจนกรณีมีความเสี่ยงสูง ต้องหยุดการผลิตและดำเนินการแก้ไขก่อน จึงจะผลิตต่ิอไป
# การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment) ไม่ครบคลุมส่วนการประจุแบตเตอร์รี่ของรถยกไฟฟ้า
# การอบรมหัวข้อความปลอดภัยและอาชีวอนามัยไม่ครบตามแผน
# ยังไม่ดำเนินการอบรมแผนอพยพ ไฟไหม้และกรณีฉุกเฉินประจำปีภายใต้ระยะเวลาที่กำหนด
# ไม่มีหัวข้อการอบรมหัวข้อการเคลื่อนย้ายสารเคมีอันตราย หัวข้อเรื่องอับอากาศ หัวข้อ Safety Awareness หัวข้อ Safety Communication ตามแผนที่กำหนด
# ไม่ดำเนินการปรับปรุงตามแผนงานด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยที่กำหนด
# พบการแก้ไขผลการตรวจปั้นจั่น ลิฟท์ โดยไม่มีอำนาจการแก้ไข
# ผลการตรวจวัดค่าต่างๆไม่ได้มาตรฐาน
# ไม่มีหลักฐานว่าได้ตรวจวัดปริมาณฝุ่น ระดับเสียงดัง ตามที่ต้องปฎิบัติในระยะเวลาที่ระบุไว้
# ไม่ดำเนินการแก้ไขงานเมื่อพบว่าแผนงานด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยไม่ได้ตามข้อกำหนด
# การทบทวนกฎหมายความปลอดภัยและอาชีวอนามัยไม่ Up to Date
# ไม่ได้ทบทวนเกี่ยวกับค่าต่างๆตามที่ระบุในใบ รง.4 ว่าเป็นไปตามที่กฎหมายกำหนดหรือไม่
# ไม่มีการวัดค่าปริมาณฝุ่นตามที่กำหนด
# ไม่ปรับเปลี่ยนถุงกรอง (Bag Filter) ตามระยะเวลาที่ระบุ
# ผลการตรวจวัดค่าคุณภาพสิ่งแวดล้อมเกินกว่าค่ามาตรฐาน เช่น แสงสว่าง แสง ความร้อน ฝุ่น
# รายงานการตรวจวัดสารเคมีอันตรายประจำไตรมาศ พบการปนเปื้อน
# ไม่ทำ Patrol Audit1 ตามที่กำหนด และ คปอ.หลายคนไม่มาร่วมตรวจสอบ
# การเชื่อมแก๊ซ (Gas Welding) ไม่ทำตามหลักความปลอดภัยและ WI ที่กำหนด
# มีการใช้สารละลายมาตรฐาน(Standard Solution)ที่หมดอายุมาใช้ทดสอบค่าต่างๆ
# ไม่มีการชี้ขวดใส่สารต่างๆว่าคือสารเคมีอะไร
# การทำงานในที่สูงไม่มี safety Belt และใช้นั่งร้านตามที่กฎหมายกำหนด
# ขณะที่ผู้รับเหมาเข้ามาทำงานและเชื่อมแก๊ซ ไม่มีการควบคุมความปลอดภัย และไม่ได้จัดเตรียมถังดับเพลิงตามที่กำหนด
# เครื่องดับเพลิงไม่มีการชี้บ่งและบอกวันที่หมดอายุ
# หน้าเครื่องดับเพลิงมีสิ่งกีดขวาง
# ป้ายบ่งบอกว่าบันไดหนีไฟ หล่นลงพิ้น ขาดการดูแล
# ไม่มีการเตือนว่าขณะไฟไหม้ ห้ามใช้ลิฟท์
# พนักงานไม่ใช้ PPE ตามที่กำหนด ทั้ง ไม่สวมแว่นตานิรภัยขณะเชื่อมและเจียรชิ้นงานโลหะ
ไม่สวมร้องเท้า Safety
# ขณะเคลื่อนย้ายสารเคมีอันตราย ไม่ทำตามกฎความปลอดภัย เช่น ไม่สวมถุงมือ ไม่สวมหน้ากากนิรภัย
# ชุดผจญเพลิงไม่ได้มาตรฐาน ไม่สามารถใช้ผจญเพลิงและทนความร้อนได้จริง
# การเรียงถังแก๊ซไม่มีราวกั้นหรือโซ่คล้องกันล้ม
# ขณะขนย้ายถังแก๊ซ ไม่ดับเครื่องรถยนต์
# จัดเก็บถังแก๊ซเกินกว่าปริมาณที่กฎหมายกำหนดไว้
# ไม่ตรวจสอบสายพานการผลิต (Conveyor) ตามที่กำหนด
# ไม่ตรวจสอบ Boiler ตามCheck List หรือ คุ่มือตามที่กำนหด
# ขณะเคลื่อนย้ายแก๊ซไวไฟ มือเปื้อนจารบีใช้จับต้องหัวถังแก๊ซ (ระวังเกิดปฎิกิริยา หากแก๊ซรั่วไหลระเบิดได้)
# การระบุสีท่อต่างๆไม่เป็นไปตามมาตรฐานการระบุสีของท่อ เช่น ท่อแก๊ซ ท่อน้ำ ท่อร้อยสายไฟฟ้า ท่อส่งสารเคมี เป็นต้น
# ไม่ระบุให้ชัดเจนเกี่ยวกับระบบสายดิน (Ground System)
# ระบุว่าให้ติดตั้งสายดินกับอุปกรณ์ไฟฟ้า แต่ไม่ดำเนินการ เช่น ที่ตู้น้ำเย็นสำหรับดิ่ม (กรณีเกิดเหตุเศร้าสลดหลายโรงเรียน นักเรียนถูกไฟฟ้าดูดจากตู้น้ำเย็นสำหรับดิ่ม ถึงแก่ชีวิต)
# ถอดอุปกรณ์ไฟฟ้าออก สายไฟฟ้ายังมีกระแสปล่อยทิ้งไว้ (หมายถึง ไม่มีการป้องกันอันตรายใดๆ)
# มีการประกอบชิ้นงานที่คม (อาจก่อให้เกิดอันตราย)
# จุดปฎิบัติงานกำหนดป้ายบนศรีษะว่าให้สวม PPE แต่ไม่ปฎิบัติตาม
# จุดปฎิบัติงานกำหนดป้ายว่าห้ามจอดรถบริเวณนี้ แต่ไม่ปฎิบัติตาม
# ไม่พบหลักฐานการตรวจสอบรถบรรทุกก่อนขนส่งออกไปจากไซด์งานตามที่กำหนด
# ไม่ตรวจสอบเครื่องจักรตาม Check List
# ไม่มีแผนการตรวจประเมินผู้รับจ้างกำจัดของเสีย สารเคมีอันตราย
# ทะเบียนรายชื่อ Supplier ไม่พบรายชื่อผู้ให้บริการกำจัดสารเคมีอันตราย ผู้ตรวจสอบปั้นจั่น
# ทะเบียนรายชื่อ Supplier ไม่พบรายชื่อผู้ให้บริการกำจัดสารเคมีอันตราย ผู้ตรวจสอบปั้นจั่น
# แผนผังองค์กรไม่ Up Date
# การกำหนดหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยไม่ครบถ้วนกับการทำงานจริง
# ไม่พบ JD ของ จปว.
# การดำเนินการข้อร้องเรียนปัญหาความปลอดภัยและอาชีวอนามัยกับชุมชนรอบข้างยังระบุผู้รับผิดชอบไม่ชัดเจนว่าเป็นใครบ้าง ระหว่าง จปว. เจ้าหน้าที่บุคคล
# ผลการตรวจสุขภาพประจำปีพบพนักงานหูตึงจากการทำงานสี่คน และไม่ดำเนินการตามที่แพทย์แนะนำ
วันนี้ขอพูดถึงเรื่องเกี่ยวกับความปลอดภัยและอุบัติเหตุสักนิด ผู้เขียนจึงเตือนมายังผู้ประกอบการที่ยังไม่เข้าใจ หรือไม่ทราบ
* ผู้เขียนขอแนะนำทุกๆบริษัท โดยเฉพาะของคนไทย ควรมีผู้บริหารไปอบรม จป.ผู้บริหาร และส่งพนักงานไปอบรม เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยระดับหัวหน้างาน มิฉะนั้นเวลาเกิดอุบัติเหตุ และเรื่องเข้าถึงกองทุนเงินทดแทน เจ้าหน้าที่จะมาตรวจสอบที่สถานประกอบการ ที่ไม่มี จปว. จะเรียกขอ หรือขอดูการอบรมของผู้บริหารและของหัวหน้างานเกี่ยวกับความปลอดภัย หากไม่มีหรือไม่ถูกต้องตามกฎหมาย จะถูกปรับเป็นเงินมากโข เรียกว่าหลายแสนบาทก็มีแล้ว จัดอบรมดีกว่า เวลาเกิดเรื่องจะได้ไม่ยุ่งยาก ยิ่งอะไรที่เกี่ยวกับราชการ หรือกฎหมาย เรียกว่าเหนื่อยมากๆ
* ยิ่งโรงงานหรือบริษัทที่มีพนักงานตั้งแต่ 100 คน (ไม่ใช่ทำบุญร้อยวันนะ แต่เกิดอุบัติขึ้นมา ก็ใช่เลย)
ต้องมีเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยวิชาชีพ หรือ จปว. รวมทั้งบริษัท ที่มีผู้บริหารกลุ่มเดียวกัน หรือมีหลายโรงงานในรั๊วเดียวกัน นับจำนวนพนักงานรวมกันครบ 100 คน ก็เข้าข่าย ลักษณะแบบนี้ยังมีอีกหลายแห่ง หากเกิดอุบัติเหตุ จะถุกตรวจสอบเข้ม และปรับหนักพอสมควร ทำให้ถุกต้อง ปลอดภัยและสบายใจ
* ปัจจุบันโรงงานญี่ปุ่นมาตั้งที่ไทย มักมีพนักงานไม่ถึง 50 คน ไม่ต้องมีเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยด้านเทคนิค ไม่ต้องมี จปว. มักเป็นโรงงานขนาดเล็ก ผลิตชิ้นส่วน หรือ สินค้า ส่งกลับไปให้บริษัทแม่ที่ญี่ปุ่น
แต่นิยมใช้เครื่องที่อัตโนมัติมากขึ้น พนักงานหนึ่งคน คุม 6-8 เครื่องจักรที่ใช้ผลิต ไม่เหมือนแต่ก่อน หนึ่งเครื่องใช้คนคุม 3-4 คน ข้อดีโรงงานญี่ปุ่น คือ เน้น 5 ส และตระหนักถึงเรื่องอุบัติเหตุ เราควรนำสิ่งดีๆมาประยุกต์ใช้กับพนักงานคนไทย
* ยิ่งโรงงานหรือบริษัทที่มีพนักงานตั้งแต่ 100 คน (ไม่ใช่ทำบุญร้อยวันนะ แต่เกิดอุบัติขึ้นมา ก็ใช่เลย)
ต้องมีเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยวิชาชีพ หรือ จปว. รวมทั้งบริษัท ที่มีผู้บริหารกลุ่มเดียวกัน หรือมีหลายโรงงานในรั๊วเดียวกัน นับจำนวนพนักงานรวมกันครบ 100 คน ก็เข้าข่าย ลักษณะแบบนี้ยังมีอีกหลายแห่ง หากเกิดอุบัติเหตุ จะถุกตรวจสอบเข้ม และปรับหนักพอสมควร ทำให้ถุกต้อง ปลอดภัยและสบายใจ
* ปัจจุบันโรงงานญี่ปุ่นมาตั้งที่ไทย มักมีพนักงานไม่ถึง 50 คน ไม่ต้องมีเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยด้านเทคนิค ไม่ต้องมี จปว. มักเป็นโรงงานขนาดเล็ก ผลิตชิ้นส่วน หรือ สินค้า ส่งกลับไปให้บริษัทแม่ที่ญี่ปุ่น
แต่นิยมใช้เครื่องที่อัตโนมัติมากขึ้น พนักงานหนึ่งคน คุม 6-8 เครื่องจักรที่ใช้ผลิต ไม่เหมือนแต่ก่อน หนึ่งเครื่องใช้คนคุม 3-4 คน ข้อดีโรงงานญี่ปุ่น คือ เน้น 5 ส และตระหนักถึงเรื่องอุบัติเหตุ เราควรนำสิ่งดีๆมาประยุกต์ใช้กับพนักงานคนไทย
ยังเขียนไม่แล้วเสร็จ เขียนต่อคราวหน้า
OHSAS Discrepancy :ที่พบเป็น CAR จากโรงงานจริง แต่ขอยกเป็นกรณีศึกษา ไม่ระบุว่าพบที่ใดหรือองค์กรใด
*******************************************************************************
การอบรมภายในตระหนักถึงความเป็นส่วนตัวและข้อมูลส่วนบุคคล
ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562
จึงขอแจ้งให้ทราบว่าจะมีนโยบายความเป็นส่วนตัวแจ้งให้ทราบทุกครั้ง
ที่ติดต่อเรื่องการอบรมภายในเพื่อแจ้ง KS Privacy Policy
กรณีสงสัยสอบถามได้ที่ E-Mail: ksnationconsultant@hotmail.com
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น