วันพุธที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2554

EMS Check List: Req 4.6 Management Review (Blog17)

Blog 17
บริษัท เค เอส เนชั่น คอนซัลแตนท์ จำกัด
KS NATION CONSULTANT CO.,LTD.
เลขที่ 823/28  ถนนพรหมาสตร์  ตำบลบางปลาสร้อย  อำเภอเมือง  จังหวัดชลบุรี  20000
ติดต่อ K.NAT K.Sun Mobile: 081 3029339, 081 6493828, 083 2431855
E-Mail:  ksnationconsultant@hotmail.com, isoiatf@hotmail.com   
Bangkok Fax: 02 7441859
Line ID: iatf16949
ให้คำปรึกษาและอบรมทุกระบบ ISO
ให้บริการเป็น QMR/EMR/OHSMR สำหรับ SME 
รักษาระบบ ISO แทนตำแหน่งที่รอสรรหา
"นึกถึงไอโซ่ เซฟตี้ โทรหา KS" 081 3029339

ณ วันนี้ ระบบบริหารคุณภาพ ค่อนข้างจะนิ่ง ไม่เปลี่ยนแปลง
ISO9001:2015 ยังน่าจะใช้รับรองอีกสักระยะ ไม่ปรับเวอร์ชั้น
แต่ด้านความปลอดภัยกับด้านแรงงาน น่าจะมีความเข้มงวดขึ้น

วันที่ 1 มิถุนายน 2565 PDPA: Personal Data Protection Act
หลักสูตรแนะนำใหม่
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
Personal DATA Protection Act. PDPA
ส่วนองค์กรขนาดเล็ก ข้อมูลน้อย มีกฎหมายลูกยกเว้น
สามารถนำมาจัดทำระบบรองรับเพื่อให้ข้อมูลมั่นคงปลอดภัย
สนใจหลักสูตร การประยุกต์ใช้งาน PDPA อย่างมีประสิทธิผล
ผู้เข้าอบรม เช่น ฝ่าย HR ขายและการตลาด จัดซื้อ บัญชี วิศวกรรม ซ่อมบำรุง และ จปว.

วันที่ 10 มิถุนายน 2565 จะมีผลบังคับใช้ โรงงานที่มีพนักงาน
ตั้งแต่ห้าสิบคนขึ้นไป ต้องมีจัดทำมาตรฐานระบบการจัดการ
อาชีวอนามัย ความปลอดภัย....
ดังนั้นโรงงานที่ได้รับรอง ISO45001:2018 ถือว่า มีครบถ้วนแล้ว

โรงงานที่ต้องมี บุคลากรเฉพาะรับผิดชอบความปลอดภัยการเก็บรักษาวัตถุอันตราย: บฉ ที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมรับผิดชอบ พ.ศ.2551      มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 18 เมษายน 2554 ช่วงนี้คนเข้าทดสอบมาก
โรงงานที่เข้าข่ายนี้ เข้าใจง่ายๆ คือ
1 มีวัตถุอันตราย 1,000,000 กิโลกรัมต่อปี ทั้งผลิต นำเข้า ส่งออก
2 พื้นที่จัดเก็บวัตถุอันตรายตั้งแต่ 300 ตารางเมตรขึ้นไป
3 เข้าข่ายวัตถุไวไฟ สารออกซิไดซ์ และสารเปอร์ออกไซด์
แต่ถ้ามีใช้สารเคมีอันตรายตั้งแต่ 1,000 กิโลกรัมต่อปี
ต้องรายงานกรมโรงงานอุตสาหกรรมทุกสิ้นเดือนมีนาคมของทุกปี
เพิ่มจากที่ส่งรายงาน สอ.1  วัตถุอันตรายให้กระทรวงแรงงาน
ทุกสิ้นเดือนมกราคมของทุกปี

โรงงานที่ตั้งในนิคมอุตสาหกรรม ที่ใช้ก๊าซไวไฟหรือของเหลวไวไฟ
ที่มีปริมาณครอบครองตั้งแต่ 4,545 กิโลกรัม ต้องทำ 
PSMProcess Safety Management 
เพื่อความปลอดภัยจากไฟไหม้และเกิดการระเบิด
ถ้าทำระบบ ISO จะเข้าใจ มีทำ Internal Audit, Management Review
รวมถึงให้ External Auditor มาตรวจ ณ โรงงาน

หลักสูตรยอดนิยม 
Leadership & Supervisory & POKA YOKE
การ์ดไม่ตก ใส่แมส จัดระยะห่าง ล้างมือด้วยเจลเสมอ
ISO9001:2015, ISO13485:2016
ISO14001:2015, ISO45001:2018
ISO31000:2018 การบริหารความเสี่ยง ISO&IATF 
ISO14971:2019 RM for Medical Devices
IATF16949:2016, ISO19011:2018 Internal Auditor
Control of Documented Information ทุก ISO
ผู้เข้าอบรมที่ผ่านเกณฑ์ KS ออก Training Certificate ให้ทุกท่าน
Click: quality1996-quality1996.blogspot.com/
Mobile: 0813029339, 0886560247   Line ID: iatf16949

In-House Training and Consulting
ให้คำปรึกษา จัดทำระบบ อบรมภายใน
หลักสูตร FMEA What’s Change in The New AIAG & VDA 1st Edition 2019.
หลักสูตรบรรยายหนึ่งวันเต็ม บรรยาย DFMEA, FMEA-MSR และ PFMEA
สำหรับโรงงานที่มี Design พนักงานเข้าใหม่ วิศวกรใหม่ หรือผู้สนใจ
หลักสูตรที่สอง การประยุกต์ใช้ PFMEA by AIAG & VDA 1st Edition 2019.
โรงงานส่วนใหญ่ 90% เน้นทำเฉพาะ PFMEA ในขอบข่ายการผลิต (Manufacturing)
New FMEA By AIAG & VDA First Edition 2019 
AP แทนที่ RPN ติดตามที่ Blog 60 & 63 Click: quality1996-quality1996.blogspot.com/

KS Training and Consulting
ให้คำปรึกษา จัดทำระบบ อบรมภายใน
ราคาพอเพียง ลูกค้าพึงพอใจ 
โดยวิทยากรคุณภาพและประสบการณ์ด้าน ISO เป็นเวลาถึง 28 ปี
ผ่านงานทั้ง CB Auditor, QMR/EMR/OHSMR/
Food Safety Team Leader และงานจริงจากโรงงานต่างๆ
"as your require"
หลักสูตรต่างๆ ราคาพิเศษ หรือดูจากโบชัวร์ที่จัดส่งให้

หลักสูตรฝึกอบรม
FMEA What’s Change in The New AIAG & VDA 1st Edition 2019.
การประยุกต์ใช้ PFMEA in The New AIAG & VDA 1st Edition 2019.
ข้อกำหนด การบริหารความเสี่ยง และผู้ตรวจติดตามภายใน
Requirements, Risk Management, Internal Auditor
ISO9001:2015 QMS
ISO14001:2015 EMS
IATF16949:2016 AQMS
Genius QMR/EMR/SMR
ISO45001:2018 OH&SMS
The Manager & Leadership
ISO/FSSC22000:2018 FSMS
GHP/BRC/HACCP/ ISO17025
7 Quality Management Principles
ISO31000:2018 การบริหารความเสี่ยง
Root Cause Analysis/ 5S/ Walk Rally
การคิดแบบมีตรรกะ (Logical Thinking)
ISO13485 Medical Device/ ISO22301 BCMs
ISO19011:2018 แนะนำแนวทางการตรวจประเมิน
Core Tools: APQP/ PPAP/ FMEA/ SPC/ MSA/ 8D
Genius Supervisory/ ISO & IATF16949 Awareness
Control of Documented Information for ISO/IATF16949
การบริหารการเปลี่ยนแปลง (Management of Change: MOC)
หลักสูตรอื่นๆออกแบบให้ตามที่ต้องการอบรม"as your require"

ให้คำปรึกษาและอบรมทุกระบบ ISO
ให้บริการเป็น QMR/EMR/OHSMR สำหรับ SME 
หรือรักษาระบบ ISO ชั่วคราว

สำหรับ ISO45001:2018 แตกต่างกับ OHSAS18001:2007 
มาตรฐานใหม่ฉบับนี้ประกาศใช้แล้วเมื่อวันที่ 12 มีนาคม 2018
แต่ OHSAS18001:2007 ยังให้การรับรองได้จนถึงวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2021 ดังนั้นตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม 2021 จะมีแต่ ISO45001:2018 เข้ามาแทนที่ สามารถคลิ๊กไปอ่านที่ link   http://safetysolving.blogspot.com/

In-House Training and Consulting
ให้คำปรึกษา จัดทำระบบ อบรมภายใน
ISO9001:2015, ISO14001:2015, OHSAS18001:2007, ISO50001
Risk Management of ISO31000/ Follow of ISO New Version
Internal Audit of ISO19011
Environmental Legal/ Aspect/ Risk Assessment 
IATF16949:2016 (TS)/ 8D/ Why Why Analysis
APQP, PPAP, FMEA, MSA, SPC (Integrated 5 Core Tools)
GHP/HACCP/ BRC/IFS/ ISO/FSSC 22000 
GMP Asean/ GMP EU/ Primary GMP
ISO13485, ISO17025, ISO45001, ISO22301 (BCM)
Genius MR (Task of QMR/EMR/OHSMR/EnMR)
SA8000/ ISO26000/ TL9000/ AS9100
The Manager and The Leader (ผู้จัดการและผู้นำ)
Genius Supervisory (หัวหน้างานยอดเยี่ยม)
การสื่อสารสัมฤทธิ์ผล (แนวทางของ ISO และ HO REN SO) 
การเพิ่มผลผลิตแบบ Daily Management
การสอนงานแบบ JI  (Job Instruction) 
Document Writing, 5S, Walk Rally
บรรยายหลักสูตรต่างๆและออกแบบหลักสูตรตามที่ท่านต้องการ

ทีมงานพร้อมจัดทำ Pre-Audit, Special Internal Audit และ Supplier Audit
การรวมระบบต่างๆเข้าด้วยกัน
สนใจติดต่อที่ K. Nat, K. Sun
E-Mail : ksnationconsultant@hotmail.com; Mobile :081 3029339, 083 2431855

ออกใบ Certificate ให้ผู้เข้าอบรมจริงทุกท่าน ค่าฝึกอบรมสามารถนำไปลดหย่อนภาษีได้
ISO9001: 2015, IATF16949, ISO13485 QMS - Medical Devices
link ดูจาก   http://quality1996-quality1996.blogspot.com/
GHP/HACCP/FSSC/ISO22000/ISO17025  link ดูจาก  http://qualitysolving.blogspot.com/
ISO14001, OHSAS18001, SA8000  link ดูจาก  http://safetysolving.blogspot.com/
Check List of ISO (MS):link ดูจาก  http://McQMRtraining-McQMR.blogspot.com/
หรือ SA8000 Check List link ที่    http://McQMRTraining.blogspot.com/

สำหรับโรงงานที่ต้องการควบคุมและกำจัดสัตว์รบกวนและสัตว์พาหะ ทั้งแมลง ปลวก นก หนูต่างๆสามารถติดต่องาน Pest Control โดย Click:   http://www.nanoherb.com
อบรมภายในราคาพิเศษ 
สำหรับลูกค้า KS Nation Consultant Co.,Ltd.
Tel: 081 3029339

บทความด้านระบบการจัดการต่างๆของ McQMR และ Soonthorn  Ngamprompong หรือ                   ของสุนทร งามพร้อมพงศ์ (อาจารย์ศรราม) เป็นลิขสิทธิ์ของบริษัท KS NATION CONSULTANT CO.,LTD. ห้ามสำเนาและคัดลอกโดยไม่ได้รับอนุญาต Copy Right, All Rights Reserved.   

กรณีสงสัยสอบถามได้ที่ E-Mail: ksnationconsultant@hotmail.com ฟรี 

เพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนความรู้ สู่ "โซเชียล ไอโซ่ (Social ISO) เพื่อนแท้ที่แปลกหน้า"


การเผาไร่อ้อย มลภาวะประเภท เขม่าดำจะปลิวไปทั่วบริเวณกว้าง
จังหวัดกำแพงเพชร: Kamphangphet Province, Thailand
การเผาไร่อ้อย มลภาวะประเภท เขม่าดำจะปลิวไปทั่วบริเวณกว้าง เป็นการกระทำที่หยุดได้เพราะเกิดจากการกระทำโดยน้ำมือมนุษย์ ไม่ใช่ภัยจากธรรมชาติ เช่นเดียวกับเหตุการณ์ที่เกิดที่จังหวัดพะเยา มีควันเขม่า ลอยไปทั่วบริเวณเกิดขึ้นตั้งแต่สัปดาห์ที่สามของเดือนกุมภาพันธ์ 2012 ประชาชนสัญจรตามท้องถนนต้องใช้ผ้าปิดจมูก รวมทั้งจังหวัดแม่ฮ่องสอน เกิดไฟป่าจากการเผาป่าและบุกรุกที่ป่า ต้องยกเลิกเที่ยวบินเพราะทัศนวิสัยต้องมองเห็นข้างหน้าได้เพียง 3 กิโลเมตรซึ่งต่ำกว่ามาตรฐานต้องไม่น้อยกว่า 5 กิโลเมตรขึ้นไป ปัจจุบันหมอกควันยังลอยไปถึงจังหวัดเชียงใหม่ จงร่วมใจกันรักษ์สิ่งแวดล้อม

ผู้เขียนขอกล่าวสักหน่ิอย เนื่องจากมีหลายท่านถามเรื่องการให้คำปรึกษาและอบรม เดิมทีผู้เขียนทำบทความขึ้นมาเพื่อนำประสบการณ์จริงจากโรงงานที่ทำ ISO มาร่วม 20 ปี เป็น IRCA Auditor มาก่อน จากนั้นกลับโรงงานเป็นทั้ง QMR/EMR/OHSMR และทำโครงการที่ปรึกษา(เป็น Consultant) อีกหลายสิบโรงงาน วิทยากร Public Seminar/Training และทำ Suppliers Audit กว่าร้อยโรงงาน

ปัจจุบันยังทำ Free Lance และวิทยากรสอน ISO ให้กับหน่วยงานแห่งหนึ่งซึ่งลูกค้าส่วนใหญ่เป็นโรงงานญี่ปุ่น และใช้บางเวลาร่วมกับน้องเก่าและเพื่อนๆ มาจัดทำที่ปรึกษาแบบราคาพอเพียง เพื่อถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์จริงจากโรงงานและชีวิตผู้ตรวจสอบในอดีต การเขียนบทความลง Web Blog อีกนานจึงจะเขียนแล้วเสร็จทั้งหมด เพราะมีมากมายและหลายๆระบบการจัดการ เพื่อให้เกิดประโยชน์ด้านความรู้ระบบการจัดการ(Management Systems) ผู้เขียนจะใช้บางช่วงเวลา ร่วมกับน้องๆและเพื่อนที่เคยร่วมงานกัน ทำที่ปรึกษาแบบราคาไม่แพงให้กับโรงงานคนไทย หรือโรงงานทั่วไป ยกเว้นลูกค้าจากโรงงานญี่ปุ่นที่เป็นลูกค้าของหน่วยงานที่ผู้เขียนร่วมงาน ณ ปัจจุบันจะไม่รับงานใดๆทั้งสิ้น หากว่าท่านศึกษาบทความของผู้เขียน และทำระบบเองได้ ไม่จำเป็นต้องจ้างที่ปรึกษา เพราะคนไม่ป่วยไม่ต้องการหมอ หากสงสัยบางประเด็นก็สอบถามมา ยินดีให้คำแนะนำฟรี ก็มีน้องๆโรงงานผลิตอาหาร โรงงานกระจก โรงงานพลาสติก อื่นๆสอบถามมาเสมอ

ระบบบริหารสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัยกับชิวิตจริงในโรงงาน
(Blog 17: EMS Check List: 4.6 การทบทวนของฝ่ายบริหาร: Management Review Checking)
First Web Blog ; คือ http://quality1996-quality1996.blogspot.com/ เป็นเรื่องเกี่ยวกับ ISO9001


Second Web Blog ;คือ http://qualitysolving.blogspot.com/ เป็นเรื่องเกี่ยวกับ GMP, HACCP, ISO22000,(Food Safety Management System: FSMS), ISO17025


Third Web Blog ; คือ http://safetysolving.blogspot.com/ เป็นเรื่องเกี่ยวกับ ISO14001, OHSAS/TIS18001, หรือที่ https://sites.google.com/site/mcqmrtraining/
กรณีสงสัยสอบถามได้ที่ E-Mail:  ksnationconsultant@hotmail.com ฟรี
เพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนความรู้สู่ "โซเชียล ไอโซ่ (Social ISO) เพื่อนแท้ที่แปลกหน้า"

สภาพด้านหลังตลาดคลองสวน 100 ปี เป็นลำคลอง อยู่ในเขตจังหวัดสมุทรปราการข้ามสะพานข้ามคลองไปเป็นเขตจังหวัดฉะเชิงเทรา ลำคลองนี้ไหลลงสู่แม่น้ำบางปะกง

ผู้เขียนขอเริ่มทำ Check List เกี่ยวกับ ข้อกำหนดของ ISO14001:2015 ดังนี้
 Req 9.3 การทบทวนของฝ่ายบริหาร (Management Review Check List)
 

สิ่งที่ขอดูและต้องตรวจสอบ เช่น
 * โรงงานจัดทำระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับการประชุมทบทวนของฝ่ายบริหาร: Management Review Meeting Procedure) หรือยัง และนำไปปฏิบัติจริงหรือไม่ (Implementation)
 * การประชุมทบทวนของฝ่ายบริหาร (Management Review Meeting) ทำปีละกี่ครั้ง ความถี่ของการประชุมและการติดตามปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม ดำเนินการอย่างไร

หัวข้อที่ต้องมีใน Management Review ของ ISO 14001 คือ
    ผลการตรวจติดตามและการประเมินความสอดคล้องของกฎหมายและข้อกำหนด 
การสื่อสารและข้อร้องเรียน
สมรรถนะหรือผลการดำเนินงานด้านสิ่งแวดล้อม
การบรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมาย
สถานการณ์ปฏิบัติการแก้ไขและมาตรป้องกัน
  •ติดตามผลการทบทวนงานบริหารครั้งที่ผ่านมา 

  •การเปลี่ยนแปลงสถานการณ์ (Changing Circumstances) รวมถึงการพัฒนาที่เกี่ยวกับด้านกฎหมาย
     และข้อกำหนดอื่นๆ ซึ่งเกี่ยวข้องกับประเด็นปัญหาสิ่งแวดล้อมขององค์กร (Environmental Aspects)
  •ข้อแนะนำในการปรับปรุง (Recommendations for Improvement)
ประเด็นสำคัญ 
ดูว่าทบทวนครอบคลุมทุกข้อกำหนด ทำตามระยะเวลาที่กำหนด และ  มีการสั่งการ ให้คำแนะนำสำหรับ
การปรับปรุง และมีการติดตามผลจากการทบทวนงานบริหารคุณภาพจนแล้วเสร็จหรือต่อเนื่อง

(รายละเอียดเกี่ยวกับการประชุมทบทวนของฝ่ายบริหาร (Management Review Meeting) สามารถย้อนกลับไปศึกษาที่ Blog ที่ 4 ของ ISO9001: QMS Check List ใน Web Blog คือ
 http://quality1996-quality1996.blogspot.com/  ใช้หลักการเหมือนกัน ให้มุ่งไปที่ด้านสิ่งแวดล้อม ผู้เขียน จึงย้ำน้องๆนิสิตนักศึกษาว่า ให้ศึกษา ISO 9001 ให้ชำนาญและเข้าใจ สามารถนำไปต่อยอดในทุกระบบการจัดการได้โรงงานส่วนใหญ่ ทำมากกว่าหนึ่งระบบการจัดการ เช่น ทำ ISO 9001 ควบคู่กับทำ ISO 14001 หรือทำ ISO 9001 ควบคู่กับทำ ISO 22000/HACCP หรือ ทำ ISO/TS 16949 ควบคู่กับทำ ISO 14001 บางโรงงานขนาดใหญ่ทำทั้งสามระบบคือ ISO9001, ISO14001, OHSAS/TIS18001 อื่นๆ)

เนื่องจากการเขียนบทความโดยแบ่งบล๊อคของ EMS ต่างจากที่เขียนของ QMS
โดยของEMS ได้แบ่งออกตามข้อกำหนดย่อย จึงมีเวบบล๊อคค่อนข้างมาก แต่เผื่ออนาคตจะเติมข้อมูล
 ฉะนั้นผู้เขียนจะแทรก Discrepancy เข้ามาในบล๊อคนี้ก่อน หากรวบรวมปัญหา ข้อบกพร่อง และ CAR
 แล้วเสร็จจะนำไปลงที่บทความของ Google Site :
 http://site.google.com/site/mcqmrtraining/

วันนี้ผู้เขียนขอยกตัวอย่างข้อบกพร่องตามที่พบจริงของ ISO14001 มาลงในบล๊อคนี้ก่อน ข้อบกพร่องหรือสิ่งที่ไม่สอดคล้องกับข้อกำหนดของ EMS ท่านสามารถแปลงกลับไปทำ Check List เพื่อใช้ทำ Internal Audit Check List หรือตรวจติดตาม ซึ่งหากว่าพบที่โรงงานท่าน ให้ดำเนินการปรับปรุงเพื่อเตรียมความพร้อมก่อนที่ External Auditor จะมาตรวจประเมิน หรือตรวจติดตามผล (Surveillance) มีดังนี้

EMS Discrepancy :ที่พบจากโรงงานจริง แต่ขอยกเป็นกรณีศึกษา ไม่ระบุว่าพบที่ใดหรือองค์กรใด
 หากทำการตรวจประเมินจริง สิ่งเหล่านี้มีโอกาศพบในโรงงานของท่านเสมอ แต่ขอปรับคำพูดจาก CAR เพื่อให้เข้าใจมากขึ้น ก็ภาษาของ Auditor บางที่ก็เข้าใจกันในหมู่ผู้ตรวจสอบ
น้องๆพนักงานอาจงง หรือไม่เข้าใจกระจ่าง

ตัวอย่างข้อบกพร่องข้างล่างที่ไม่สอดคล้องกับข้อกำหนดที่ 8.1 Operational Planning and Control
 # บริเวณโรงจัดเก็บสารเคมี พบว่ามีการหกรั่วไหล ไม่มีถาดรองรับสารเคมีและสารเคมีไหลลงผิวดินและปะปนในน้ำบาดาล
 # อาคารจัดเก็บสารเคมีไม่มีขอบกั้น เพื่อรองรับและป้องกันสารเคมีที่รั่วจากถัง (Drum)
 # พบว่าโรงเก็บสารเคมีหลังคารั่ว น้ำฝนตกใส่ปะปนสารเคมีทีเลอะด้านล่างหรือพื้น
 # พบสารเคมีและน้ำมันหล่อลื่นหกรั่วไหลในพื้นที่ทำงาน
 # การปฎิบัติงานไม่ทำตามข้อกำหนดของกฎหมาย มีการจัดเก็บน้ำมัน สารละเหย (Solvent) ในพื้นที่โรงงานเกินกว่าปริมาณที่อนุญาต

ตัวอย่างข้อบกพร่องข้างล่างที่ไม่สอดคล้องกับข้อกำหนดที่ 6.1.2 เรื่อง Environmental Aspect
 # การประเมินประเด็นปัญหาสิ่งแวดล้อม (Environmental Aspect) ไม่ครอบคลุมทุกพื้นที่
 # การประเมินประเด็นปัญหาสิ่งแวดล้อม (Environmental Aspect) ไม่ครอบคลุมทุก Process ของงาน
 # ไม่ดำเนินการทบทวน Environmental Aspect ตามระยะเวลาที่กำหนด
 # การวิเคาะห์ Significant Aspect ไม่ถุกต้อง
 # การประเมินประเด็นปัญหาสิ่งแวดล้อม (Environmental Aspect) ไม่ระบุเกี่ยวกับการใช้งานรถโฟคลิฟท์ (Fork Lift)

ตัวอย่างข้อบกพร่องข้างล่างที่ไม่สอดคล้องกับข้อกำหนดที่ 7.2 Competence, 7.3Training, Awareness
 # การอบรมหัวข้อสิ่งแวดล้อมไม่ครบตามแผน
 # ไม่มีหัวข้อการอบรมสิ่งแวดล้อม เช่น หัวข้อการเคลื่อนย้ายสารเคมีไม่ให้ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม หัวข้อ Environmental Awareness หัวข้อ Environmental Communication เป็นต้น

ตัวอย่างข้อบกพร่อง (จะแยกตามข้อกำหนดในภายหลัง)
 # ไม่ดำเนินการปรับปรุงตามแผนงานสิ่งแวดล้อมที่กำหนด
 # พบการแก้ไขผลการตรวจวัดโดยไม่มีอำนาจการแก้ไข
 # ผลการตรวจวัดค่าต่างๆไม่ได้มาตรฐาน
 # ไม่มีหลักฐานว่าได้ตรวจวัดปริมาณอากาสเสีย น้ำเสีย ตามที่ต้องปฎิบัติในระยะเวลาที่ระบุไว้
 # ไม่ดำเนินการแก้ไขงานเมื่อพบว่าผลงานด้านสิ่งแวดล้อมไม่ได้ตามข้อกำหนด
 

ตัวอย่างข้อบกพร่องข้างล่างที่ไม่สอดคล้องกับข้อกำหนดที่ 6.1.3 เรื่อง Compliance Obligations
 # การทบทวนกฎหมายสิ่งแวดล้อมไม่ Up to Date
 # ไม่ได้ทบทวนเกี่ยวกับค่าต่างๆตามที่ระบุในใบ รง.4 ว่าเป็นไปตามที่กฎหมายกำหนดหรือไม่

ตัวอย่างข้อบกพร่อง
 # การตรวจวัดพบค่า BOD, COD ไม่ได้ตามมาตรฐานและไม่มีการดำเนินการใดๆ
 # ไม่มีการวัดค่าปริมาณฝุ่นตามที่กำหนด
 # ค่าตรวจวัดน้ำมัน(Oil) และจารบี (Grease) เกินกว่าค่าที่กำหนด
 # ไม่ปรับเปลี่ยนถุงกรอง (Bag Filter) ตามระยะเวลาที่ระบุ
 # ผลการตรวจวัดค่าคุณภาพสิ่งแวดล้อมเกินกว่าค่ามาตรฐาน เช่น แสงสว่าง แสง ความร้อน ฝุ่น
 # ค่าตรวจวัดสารเคมีจากรายงานผลการตรวจประจำไตรมาศ เกินกว่าค่ามาตรฐาน
 # จุดสุ่มเก็บตัวอย่างน้ำไม่เหมาะสมและทำให้ค่าคลาดเคลื่อน
 # การเก็บตัวอย่างวัดค่าน้ำเสีย ไม่ทำตาม WI ที่กำหนด
 # มีการใช้สารละลายมาตรฐาน(Standard Solution)ที่หมดอายุมาใช้ทดสอบค่าต่างๆ
 # พบการใช้สารเคมีทดสอบค่าต่างๆนั้น หมดอายุ (Expire)
 # ผลการตรวจวัดค่าต่างๆ ตามจุดตรวจวัดที่กำหนด ผิดไปจากมาตรฐานและไม่ดำเนินการใดๆ
 # ไม่มีการชี้ขวดใส่สารต่างๆว่าคือสารเคมีอะไร

ตัวอย่างข้อบกพร่อง
 # ไม่มีแผนการตรวจประเมินผู้รับจ้างกำจัดของเสีย สารเคมีอันตราย
 # ทะเบียนรายชื่อ Supplier ไม่พบรายชื่อผู้ให้บริการกำจัดสารเคมีอันตราย

ตัวอย่างข้อบกพร่อง
 # แผนผังองค์กรไม่ Up Date
 # ไม่มีการกำหนดหน้าที่ของเจ้าหน้าที่สิ่งแวดล้อม
 # ไม่พบ JD ของ EMR ตามที่กำหนดไว้

ตัวอย่างข้อบกพร่อง ไม่สอดคล้องกับข้อกำหนดที่ 10.2 NCF, CA: Corrective Action

 # การดำเนินการข้อร้องเรียนปัญหาสิ่งแวดล้อมจากชุมชนรอบข้างล่าช้า
 # วัตถุประสงค์ด้านสิ่งแวดล้อมไม่บรรลุตามเป้าหมาย และไม่พบหลักฐานการสืบหาสาเหตุ(Investigation) ก่อนดำเนินการปฎิบัติการแก้ไข หรือทบทวนเพื่อออกแผนงานสิ่งแวดล้อมใหม่

ตัวอย่างข้อบกพร่องข้างล่างที่ไม่สอดคล้องกับข้อกำหนดที่ 6.2 Objective, Targets, Programme(s)
 # ยังไม่ดำเนินการทบทวน Environmental Objectives ตามระยะเวลาที่กำหนด
 # Environmental Targets ไม่ได้ตามเป้าหมาย แต่ไม่ดำเนินการใดๆ
 # ไม่ได้กำหนดบางประเด็นปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีนัยยะออกมาเป็นแผนงาน (Environmental Programmes)

ผู้เขียนมองว่าปีนี้ ค.ศ. 2012 จะมีโรงงานที่จัดทำระบบการจัดการด้านพลังงาน หรือ ISO50001 (Energy Management System : EnMS) มากขึ้น เป็นโรงงานที่มีการจัดทำโครงการอนุรักษ์พลังงานมาก่อน หรือจะร่วมกับโครงการราชการใด หรือร่วมกับกระทรวงพลังงาน ซึ่งน่าจะมีขีดความสามารถจัดทำได้ดีพอสมควร อย่างน้อยก็ลดพลังงานที่ใช้ลงมาให้ได้สัก 20 % จะพูดว่า EnMS แตกออกมาจาก EMS (ISO14001) คิดว่าน่าจะได้ ฉะนั้นโรงงานที่ได้รับการรับรองระบบการจัดการด้านสิ่งแวดล้อมน่าจะเข้าร่วมโครงการมากขึ้นกว่าแต่ก่อน

ล่าสุดผู้เขียน McQMR ได้ข่าวว่าโรงงานอินโดรามาที่จังหวัดสระบุรีได้รับรอง ISO50001 เป็นรายแรกของประเทศไทย และมีโรงงานเกี่ยวกับ Electronic ได้รับต่อมาเช่นกัน อนาคตคิดว่าแนวโน้มของ EnMS หรือ ISO50001 จะมีองค์กรได้รับการรับรองมากขึ้น ในเมืองไทยมี CB(Certification Body เช่น MASCI, SGS,TUV Nord, BVQI, TUV Rheinland, TUV SUD, BSI, Lloyd, AJA, JQA, Intertek Moody, BSI, ABS, UL, etc) มากมาย หลังจาก CB รับรองไปแล้ว หากมีศูนย์กลางรับข้อมูลจาก CB ส่งให้กับหน่วยงานกลางน่าจะเป็น NAC ของกระทรวงอุตสาหกรรม(เดิมขึ้นกับสำนักงานปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม ปัจจุบันขึ้นกับ สมอ.(สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เป็นหน่วยงานหนึ่งของกระทรวงอุตสาหกรรม) จะได้ทราบข่าวความเคลื่อนไหวในวงการ ISO ปัจจุบันการติดตามข่าวจากหนังสือ For Quality ของ สสท ก็พอรู้ความเคลื่อนไหวเช่นกัน หากว่าประเทศไทยออกเป็นกฎหมายทุก CB ต้องแจ้งรายชื่อผู้ได้รับการรับรองไปยัง สมอ.  ได้ข่าวว่าประเทศสิงค์โปรทำลักษณะนี้ ผู้เขียนยังมองอีกมุมมองคือ มีประโยชน์หลายประการและตรวจสอบข้อมูลจริงเพื่อให้มีผลทางกฎหมายหากพบว่ามีการปลอมแปลงใบ Certificat ของ ISO .......
ยังเขียนไม่แล้วเสร็จ 

วันนี้ขอพูดถึงเรื่องเกี่ยวกับความปลอดภัยและอุบัติเหตุสักนิด ผู้เขียนจึงเตือนมายังผู้ประกอบการที่ยังไม่เข้าใจ หรือไม่ทราบ 

* ผู้เขียนขอแนะนำทุกๆบริษัท โดยเฉพาะของคนไทย ควรมีผู้บริหารไปอบรม จป.ผู้บริหาร และส่งพนักงานไปอบรม เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยระดับหัวหน้างาน มิฉะนั้นเวลาเกิดอุบัติเหตุ และเรื่องเข้าถึงกองทุนเงินทดแทน เจ้าหน้าที่จะมาตรวจสอบที่สถานประกอบการ ที่ไม่มี จปว. จะเรียกขอ หรือขอดูการอบรมของผู้บริหารและของหัวหน้างานเกี่ยวกับความปลอดภัย หากไม่มีหรือไม่ถูกต้องตามกฎหมาย จะถูกปรับเป็นเงินมากโข เรียกว่าหลายแสนบาทก็มีแล้ว จัดอบรมดีกว่า เวลาเกิดเรื่องจะได้ไม่ยุ่งยาก ยิ่งอะไรที่เกี่ยวกับราชการ หรือกฎหมาย เรียกว่าเหนื่อยมากๆ

* ยิ่งโรงงานหรือบริษัทที่มีพนักงานตั้งแต่ 100 คน (ไม่ใช่ทำบุญร้อยวันนะ แต่เกิดอุบัติขึ้นมา ก็ใช่เลย)
ต้องมีเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยวิชาชีพ หรือ จปว. รวมทั้งบริษัท ที่มีผู้บริหารกลุ่มเดียวกัน หรือมีหลายโรงงานในรั๊วเดียวกัน นับจำนวนพนักงานรวมกันครบ 100 คน ก็เข้าข่าย ลักษณะแบบนี้ยังมีอีกหลายแห่ง หากเกิดอุบัติเหตุ จะถุกตรวจสอบเข้ม และปรับหนักพอสมควร ทำให้ถุกต้อง ปลอดภัยและสบายใจ

* ปัจจุบันโรงงานญี่ปุ่นมาตั้งที่ไทย มักมีพนักงานไม่ถึง 50 คน ไม่ต้องมีเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยด้านเทคนิค ไม่ต้องมี จปว. มักเป็นโรงงานขนาดเล็ก ผลิตชิ้นส่วน หรือ สินค้า ส่งกลับไปให้บริษัทแม่ที่ญี่ปุ่น
แต่นิยมใช้เครื่องที่อัตโนมัติมากขึ้น พนักงานหนึ่งคน คุม 6-8 เครื่องจักรที่ใช้ผลิต ไม่เหมือนแต่ก่อน หนึ่งเครื่องใช้คนคุม 3-4 คน ข้อดีโรงงานญี่ปุ่น คือ เน้น 5 ส และตระหนักถึงเรื่องอุบัติเหตุ เราควรนำสิ่งดีๆมาประยุกต์ใช้กับพนักงานคนไทย

เขียนต่อคราวหน้า

บริษัทให้คำปรึกษาและฝึกอบรมทุกระบบ/มาตรฐาน และกิจกรรมต่างๆ
Walk Rally เน้นพื้นที่ ระยอง กาญจนบุรี ราชบุรี เพชรบุรี เขาใหญ่/นครนายก ปราจีนบุรี สระแก้ว จันทบุรี ขอนแก่น นครสวรรค์ ลำปาง และเชียงใหม่  

สามารถ Click ดูที่ Web Blog ด้านล่าง
ISO9001: 2008, IATF16949  link ดูจาก   http://quality1996-quality1996.blogspot.com/
GHP/HACCP/ISO22000/ISO17025  link ดูจาก  http://qualitysolving.blogspot.com/
ISO14001, OHSAS18001, SA8000  link ดูจาก  http://safetysolving.blogspot.com/
Check List of ISO (MS):link ดูจาก  http://McQMRtraining-McQMR.blogspot.com/
หรือ SA8000 Check List link ที่    http://McQMRTraining.blogspot.com/

บทความด้านระบบการจัดการต่างๆของ McQMR และ Soonthorn  Ngamprompong หรือ                  อาจารย์ศรราม (สุนทร งามพร้อมพงศ์) เป็นลิขสิทธิ์ของบริษัท KS NATION CONSULTANT CO.,LTD. ห้ามสำเนาและคัดลอกโดยไม่ได้รับอนุญาต Copy Right, All Right Reserved.   
ทีมงานพร้อมให้คำปรึกษา ISO และจัดทำ Pre-Audit, Special Internal Audit, Supplier Audit และ Customer Assign to Factory Audit/Delivery Audit
รับจัดทำและออกแบบหลักสูตรการฝึกอบรมให้เหมาะกับสภาพการณ์จริงของโรงงานและองค์กร


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น