วันพุธที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2554

OHSAS/TIS 18001 Check List(ต่อ): (Blog 16: Req.ข้อ 4.5/4.6 Checking)

Blog 16
OHSAS18001:2007 ปรับเปลี่ยนไปเป็น ISO45001:2018

บริษัท เค เอส เนชั่น คอนซัลแตนท์ จำกัด
KS NATION CONSULTANT CO.,LTD.
เลขที่ 823/28  ถนนพรหมาสตร์  ตำบลบางปลาสร้อย  อำเภอเมือง  จังหวัดชลบุรี  20000
ติดต่อ K.NAT K.Sun Mobile: 081 3029339, 081 6493828, 083 2431855
E-Mail:  ksnationconsultant@hotmail.com, isoiatf@hotmail.com   
Bangkok Fax: 02 7441859
Line ID: iatf16949
ให้คำปรึกษาและอบรมทุกระบบ ISO
ให้บริการเป็น QMR/EMR/OHSMR สำหรับ SME 
รักษาระบบ ISO แทนตำแหน่งที่รอสรรหา
"นึกถึงไอโซ่ เซฟตี้ โทรหา" 
081 3029339 ติดต่อ QMR & เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยวิชาชีพ

ณ วันนี้ ระบบบริหารคุณภาพ ค่อนข้างจะนิ่ง ไม่เปลี่ยนแปลง
ISO9001:2015 ยังน่าจะใช้รับรองอีกสักระยะ ไม่ปรับเวอร์ชั้น
แต่ด้านความปลอดภัยกับด้านแรงงาน น่าจะมีความเข้มงวดขึ้น
วันที่ 1 มิถุนายน 2565 PDPA: Personal Data Protection Act

วันที่ 10 มิถุนายน 2565 จะมีผลบังคับใช้ โรงงานที่มีพนักงาน
ตั้งแต่ห้าสิบคนขึ้นไป ต้องมีจัดทำมาตรฐานระบบการจัดการ
อาชีวอนามัย ความปลอดภัย....
ดังนั้นโรงงานที่ได้รับรอง ISO45001:2018 ถือว่า มีครบถ้วนแล้ว

โรงงานที่ต้องมี บุคลากรเฉพาะรับผิดชอบความปลอดภัยการเก็บรักษาวัตถุอันตราย: บฉ ที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมรับผิดชอบ พ.ศ.2551      มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 18 เมษายน 2554 ช่วงนี้คนเข้าทดสอบมาก
โรงงานที่เข้าข่ายนี้ เข้าใจง่ายๆ คือ
1 มีวัตถุอันตราย 1,000,000 กิโลกรัมต่อปี ทั้งผลิต นำเข้า ส่งออก
2 พื้นที่จัดเก็บวัตถุอันตรายตั้งแต่ 300 ตารางเมตรขึ้นไป
3 เข้าข่ายวัตถุไวไฟ สารออกซิไดซ์ และสารเปอร์ออกไซด์
แต่ถ้ามีใช้สารเคมีอันตรายตั้งแต่ 1,000 กิโลกรัมต่อปี
ต้องรายงานกรมโรงงานอุตสาหกรรมทุกสิ้นเดือนมีนาคมของทุกปี
เพิ่มจากที่ส่งรายงาน สอ.1  วัตถุอันตรายให้กระทรวงแรงงาน
ทุกสิ้นเดือนมกราคมของทุกปี

โรงงานที่ตั้งในนิคมอุตสาหกรรม ที่ใช้ก๊าซไวไฟหรือของเหลวไวไฟ
ที่มีปริมาณครอบครองตั้งแต่ 4,545 กิโลกรัม ต้องทำ 
PSMProcess Safety Management 
เพื่อความปลอดภัยจากไฟไหม้และเกิดการระเบิด
ถ้าทำระบบ ISO จะเข้าใจ มีทำ Internal Audit, Management Review
รวมถึงให้ External Auditor มาตรวจ ณ โรงงาน

หลักสูตรยอดนิยม 
Leadership & Supervisory & POKA YOKE
การ์ดไม่ตก ใส่แมส จัดระยะห่าง ล้างมือด้วยเจลเสมอ
ISO9001:2015, ISO13485:2016
ISO14001:2015, ISO45001:2018
ISO31000:2018 การบริหารความเสี่ยง ISO&IATF 
ISO14971:2019 RM for Medical Devices
IATF16949:2016, ISO19011:2018 Internal Auditor
Control of Documented Information ทุก ISO
ผู้เข้าอบรมที่ผ่านเกณฑ์ KS ออก Training Certificate ให้ทุกท่าน
Click: quality1996-quality1996.blogspot.com/
Mobile: 0813029339, 0886560247   Line ID: iatf16949

In-House Training and Consulting
ให้คำปรึกษา จัดทำระบบ อบรมภายใน
หลักสูตร FMEA What’s Change in The New AIAG & VDA 1st Edition 2019.
หลักสูตรบรรยายหนึ่งวันเต็ม บรรยาย DFMEA, FMEA-MSR และ PFMEA
สำหรับโรงงานที่มี Design พนักงานเข้าใหม่ วิศวกรใหม่ หรือผู้สนใจ
หลักสูตรที่สอง การประยุกต์ใช้ PFMEA by AIAG & VDA 1st Edition 2019.
โรงงานส่วนใหญ่ทำ PFMEA ในขอบข่ายการผลิต (Manufacturing)
New FMEA By AIAG & VDA First Edition 2019 
AP แทนที่ RPN ติดตามที่ Blog 60 & 63 Click: quality1996-quality1996.blogspot.com/

KS Training and Consulting
ให้คำปรึกษา จัดทำระบบ อบรมภายใน
ราคาพอเพียง ลูกค้าพึงพอใจ 
โดยวิทยากรคุณภาพและประสบการณ์ด้าน ISO เป็นเวลาถึง 28 ปี
ผ่านงานทั้ง CB Auditor, QMR/EMR/OHSMR/
Food Safety Team Leader และงานจริงจากโรงงานต่างๆ
"as your require"
หลักสูตรต่างๆ ราคาพิเศษ หรือดูจากโบชัวร์ที่จัดส่งให้

หลักสูตรฝึกอบรม
FMEA What’s Change in The New AIAG & VDA 1st Edition 2019.
การประยุกต์ใช้ PFMEA in The New AIAG & VDA 1st Edition 2019.
ข้อกำหนด การบริหารความเสี่ยง และผู้ตรวจติดตามภายใน
Requirements, Risk Management, Internal Auditor
ISO9001:2015 QMS
ISO14001:2015 EMS
IATF16949:2016 AQMS
Genius QMR/EMR/SMR
ISO45001:2018 OH&SMS
The Manager & Leadership
ISO/FSSC22000:2018 FSMS
GHP/BRC/HACCP/ ISO17025
7 Quality Management Principles
ISO31000:2018 การบริหารความเสี่ยง
Root Cause Analysis/ 5S/ Walk Rally
การคิดแบบมีตรรกะ (Logical Thinking)
ISO13485 Medical Device/ ISO22301 BCMs
ISO19011:2018 แนะนำแนวทางการตรวจประเมิน
Core Tools: APQP/ PPAP/ FMEA/ SPC/ MSA/ 8D
Genius Supervisory/ ISO & IATF16949 Awareness
Control of Documented Information for ISO/IATF16949
การบริหารการเปลี่ยนแปลง (Management of Change: MOC)
หลักสูตรอื่นๆออกแบบให้ตามที่ต้องการอบรม"as your require"

สำหรับ ISO45001:2018 แตกต่างกับ OHSAS18001:2007 
มาตรฐานใหม่ฉบับนี้ประกาศใช้แล้วเมื่อวันที่ 12 มีนาคม 2018
แต่ OHSAS18001:2007 ยังให้การรับรองได้จนถึงวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2021 ดังนั้นตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม 2021 จะมีแต่ ISO45001:2018 เข้ามาแทนที่ สามารถคลิ๊กไปอ่านที่ link   http://safetysolving.blogspot.com/

In-House Training and Consulting
ให้คำปรึกษา จัดทำระบบ อบรมภายใน
ISO9001:2015, ISO14001:2015, OHSAS18001:2007, ISO50001
Risk Management of ISO31000/ Follow of ISO New Version
Internal Audit of ISO19011
Environmental Legal/ Aspect/ Risk Assessment 
IATF16949:2016 (TS)/ 8D/ Why Why Analysis
APQP, PPAP, FMEA, MSA, SPC (Integrated 5 Core Tools)
GHP/HACCP/ BRC/IFS/ ISO/FSSC 22000 
GMP Asean/ GMP EU/ Primary GMP
ISO13485, ISO17025, ISO45001, ISO22301 (BCM)
Genius MR (Task of QMR/EMR/OHSMR/EnMR)
SA8000/ ISO26000/ TL9000/ AS9100
The Manager and The Leader (ผู้จัดการและผู้นำ)
Genius Supervisory (หัวหน้างานยอดเยี่ยม)
การสื่อสารสัมฤทธิ์ผล (แนวทางของ ISO และ HO REN SO) 
การเพิ่มผลผลิตแบบ Daily Management
การสอนงานแบบ JI  (Job Instruction) 
Document Writing, 5S, Walk Rally
บรรยายหลักสูตรต่างๆและออกแบบหลักสูตรตามที่ท่านต้องการ

ทีมงานพร้อมจัดทำ Pre-Audit, Special Internal Audit และ Supplier Audit
การรวมระบบต่างๆเข้าด้วยกัน
สนใจติดต่อที่ K. Nat, K. Sun
E-Mail : ksnationconsultant@hotmail.com; Mobile :081 3029339, 083 2431855

ออกใบ Certificate ให้ผู้เข้าอบรมจริงทุกท่าน ค่าฝึกอบรมสามารถนำไปลดหย่อนภาษีได้
ISO9001: 2015, ISO/TS16949, ISO13485 QMS - Medical Devices
link ดูจาก   http://quality1996-quality1996.blogspot.com/
GHP/HACCP/FSSC/ISO22000/ISO17025  link ดูจาก  http://qualitysolving.blogspot.com/
ISO14001, OHSAS18001, SA8000  link ดูจาก  http://safetysolving.blogspot.com/
Check List of ISO (MS):link ดูจาก  http://McQMRtraining-McQMR.blogspot.com/
หรือ SA8000 Check List link ที่    http://McQMRTraining.blogspot.com/

สำหรับโรงงานที่ต้องการควบคุมและกำจัดสัตว์รบกวนและสัตว์พาหะ ทั้งแมลง ปลวก นก หนูต่างๆสามารถติดต่องาน Pest Control โดย Click:   http://www.nanoherb.com
อบรมภายในราคาพิเศษ 
สำหรับลูกค้า KS Nation Consultant Co.,Ltd.
Tel: 081 3029339

บทความด้านระบบการจัดการต่างๆของ McQMR และ Soonthorn  Ngamprompong หรือ                   ของสุนทร งามพร้อมพงศ์ (อาจารย์ศรราม) เป็นลิขสิทธิ์ของบริษัท KS NATION CONSULTANT CO.,LTD. ห้ามสำเนาและคัดลอกโดยไม่ได้รับอนุญาต Copy Right, All Rights Reserved.   

กรณีสงสัยสอบถามได้ที่ E-Mail: ksnationconsultant@hotmail.com ฟรี 

เพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนความรู้ สู่ "โซเชียล ไอโซ่ (Social ISO) เพื่อนแท้ที่แปลกหน้า"

ระบบบริหารสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัยกับชิวิตจริงในโรงงาน
(Blog 16: OHSAS/TIS 18001 Check List: 4.5 การตรวจสอบ : Checking)
ปัจจุบัน TIS 18001 ปรับจาก Version 2542 เป็น 2554 ทำให้ตัวเลขข้อกำหนดเหมือนกันกับ OHSAS 18001: 2007 แล้ว

First Web Blog ; คือ http://quality1996-quality1996.blogspot.com/ เป็นเรื่องเกี่ยวกับ ISO9001 
           
Second Web Blog ;คือ  http://qualitysolving.blogspot.com/ เป็นเรื่องเกี่ยวกับ GMP, HACCP, ISO22000 (Food Safety Management System: FSMS), ISO17025

Third Web Blog ; คือ  http://safetysolving.blogspot.com/ เป็นเรื่องเกี่ยวกับ ISO14001, OHSAS/TIS18001, SA8000, ISO50001

กรณีสงสัยสอบถามได้ที่ E-Mail: ksnationconsultant@hotmail.com ฟรี 
เพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนความรู้สู่ "โซเชียล ไอโซ่ (Social ISO) เพื่อนแท้ที่แปลกหน้า"


สถานที่แห่งนี้ ตั้งอยู่ตรงข้ามกับวัดพระบาท อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่

ผู้เขียนขอเริ่มทำ Check List เกี่ยวกับ ข้อกำหนดของ OHSAS18001:2007 และ TIS18001:1999 ดังนี้

Req 4.5.1   การเฝ้าติดตามและการตรวจวัดผล (Performance Measurement and Monitoring: Check List)

สิ่งที่ขอดูและต้องตรวจสอบ เช่น
* โรงงานจัดทำระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับการเฝ้าติดตามและการตรวจวัดผล (Performance Measurement and Monitoring Procedure) หรือยัง และนำไปปฏิบัติจริงหรือไม่ (Implementation)
* มีกำหนดความถี่ในการตรวจสอบหรือไม่ และมีการตรวจวัดอย่างสม่ำเสมอหรือไม่ ในหัวข้อ เรื่อง Ill (ill) Health, Incidents (รวมทั้ง Accidents, Near-Misses และเหตุการณ์ที่ไม่ปลอดภัยอื่นๆ)
* มีการกำหนดหัวข้อ และลักษณะที่จำเพาะซึ่งเป็นจุดสำคัญ จุดควบคุมที่จะก่อให้เกิดผลกระทบด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยที่สำคัญหรือที่มีผลกระทบมาก หรือไม่ และดำเนินการอย่างไรบ้าง
ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับการเฝ้าติดตามและการตรวจวัดผล (Performance Measurement and Monitoring procedure) มีระบุถึงผลการดำเนินงาน (Performance) ของผลการควบคุมที่เกี่ยวข้องอย่างไรบ้าง และบันทึกผลไว้ด้วยหรือไม่
 ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับการเฝ้าติดตามและการตรวจวัดผล ดำเนินอย่างสอดคล้องกับนโยบายอาชีวอนามัยและความปลอดภัย (Occupational Health and Safety Policy)  วัตถุประสงค์ (Objective) และเป้าหมาย (Target) ด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยหรือไม่ อย่างไร
* เครื่องมือทีใช้ในการเฝ้าติดตามและการตรวจวัดผลมีการสอบเทียบ (Calibration) หรือไม่ และการสอบเทียบเป็นไปตามมารตฐานที่ยอมรับหรือไม่
เครื่องมือที่สอบเทียบมีการดูแลรักษาดีหรือไม่ มีการบันทึกผลอย่างถูกต้องหรือไม่ (รายละเอียดการสอบเทียบ สามารถย้อนกลับไปศึกษาที่ Blog ที่ 4 ของ ISO9001 ใน Web Blog คือ  
* ขอดูผลการสอบเทียบและบันทึกผลต่างๆของอุปกรณ์ เครื่องมือวัดที่มีผลต่องานวัดด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
* มีการจัดทำแผนการตรวจสอบและวัดผลหรือไม่  ปฏิบัติได้ตามแผนหรือไม่ อย่างไร
* ผู้ตรวจสอบมีความเข้าใจทั้งวิธีการ การใช้เครื่องมือวัด และสถานที่ต้องไปวัดผลอย่างไรบ้าง
* มีการกำหนดหน้าที่งานชัดเจนหรือไม่
* ตรวจสอบว่า เรื่องที่ต้องเฝ้าระวังตามกฎหมายและข้อกำหนด ได้ปฏิบัติหรือไม่ เมื่อเกิดปัญหาขึ้นแล้ว มีการแก้ไขเหตุที่ก่อให้เกิดผลกระทบที่ยอมรับไม่ได้ ทำกันอย่างไร
* พนักงานที่เกี่ยวข้องมีความเข้าใจมากน้อยเพียงใด ให้สุ่มทดสอบความเข้าใจของพนักงานทุกๆจุดงาน
* มีการสื่อสารเรื่องที่เฝ้าระวังให้กับผู้ที่เกี่ยวข้องหรือไม่ อย่างไร
* ขอดูและตรวจสอบแผนการเฝ้าระวัง (Monitoring Plan) เป็นอย่างไร ทำตามแผนหรือไม่ มีอุปสรรคใดบ้าง
* ขอดูและตรวจสอบบันทึกและผลของการเฝ้าระวัง (Monitoring Result and Record) เป็นอย่างไร 
* ให้สุ่มตรวจสอบการวัดค่าเสียงดัง (Noise) เป็นอย่างไร เป็นไปตามที่กกฎหมายกำหนดหรือไม่
* ให้สุ่มตรวจสอบการวัดค่าแสงสว่าง (Light Intensity) เป็นอย่างไร เป็นไปตามที่กกฎหมายกำหนดหรือไม่ รวมทั้งมีสิ่งที่ต้องตรวจสอบว่าทำตามกฎหมายอีกหลายๆเรื่อง ขึ้นกับประเภทของโรงงาน
* มีจัดทำรายงานสถิติของอุบัติเหตุเพื่อเปรียบเทียบกับค่าเป้าหมายหรือไม่ หากไม่ได้ตามเป้าหมายดำเนินการและทบทวนอย่างไรให้บรรลุตามนโยบายและเป้าหมาย

Req 4.5.2   การประเมินความสอดคล้อง (Evaluation of Compliance: Check List)
* โรงงานจัดทำระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับการประเมินความสอดคล้อง (Evaluation of Compliance Procedure) หรือยัง และนำไปปฏิบัติจริงหรือไม่ (Implementation)
* มีความมุ่งมั่นที่จะปฏิบัติตามกฎหมายและข้อกำหนดที่เกี่ยวข้องหรือไม่ และทำการประเมินเป็นระยะๆตามที่กำหนดหรือไม่
 การประเมินความสอดคล้อง (Evaluation of Compliance) ดำเนินการครบถ้วนตามรายการทะเบียนกฎหมายและข้อกำหนดหรือไม่(Legal Master List) และข้อมูล Up to Date เป็นปัจจุบัน ไม่มีส่วนที่ล้าสมัย หรือที่กฎหมายได้ยกเลิกไปแล้ว นำมาปะปนในรายการหรือไม่
* ให้ตรวจสอบบันทึกผลของการประเมินว่าถูกต้องหรือไม่ ทำตามระยะเวลาที่กำหนด หรือทุกครั้งที่กฎหมายมีการเปลี่ยนแปลงหรือไม่
* มีการทบทวนความสอดคล้องอย่างไร โดยใครบ้างเมื่อกฎหมายมีการเปลี่ยนแปลง หรือมีการประกาศกฎหมายตัวใหม่ออกมามีผลบังคับใช้
* ตรวจสอบMonthly Legal Report ว่ามีจัดทำ และสรุปผลผระจำเดือนอย่างไร สอดคล้องกับแผนการเฝ้าระวัง(Monitor Plan) หรือไม่ อย่างไร
* ให้ตรวจสอบบันทึกผลของการประเมินว่าถูกต้องหรือไม่ ทำตามระยะเวลาที่กำหนด หรือทุกครั้งที่กฎหมายมีการเปลี่ยนแปลงหรือไม่
* กำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบทุกคน ทุกหน้าที่ชัดเจน ครบถ้วนหรือไม่
* มีการประเมินทุกๆระยะ หรือตามความถี่ที่กำหนด และทุกครั้งที่กฎหมายมีการเปลี่ยนแปลง หรือประกาศให้มีผลบังคับใช้ใหม่ อย่างไรบ้าง
* หลังการประเมินความไม่สอดคล้องแล้ว มีการนำไปปฏิบัติหรือไม่ เมื่อไร
* ขอดูหลักฐานและบันทึกผลการประเมิน ทำล่าสุดเมื่อไร ทำเวลาใดบ้าง
* ผลการทบทวนความไม่สอดคล้องและความสอดคล้องจัดเก็บบันทึกอย่างไร
* การปฏิบัติการเกี่ยวกับการประเมินความสอดคล้อง (Evaluation of Compliance) ได้แจกจ่ายเอกสารและบันทึกต่างๆให้กับผู้เกี่ยวข้องครบถ้วนหรือไม่
* ได้ประเมินความสอดคล้องของโรงงานที่เกี่ยวกับใบขออนุญาตจัดตั้งโรงงาน ว่าสิ่งต่างๆที่ระบุไว้ มีความสอดคล้องหรือไม่ (ให้ดู ใบ รง. ที่ออกโดยกระทรวงอุตสาหกรรมหรือใบที่รัฐออกให้เมื่อขออนุญาตจัดตั้งโรงงาน)

Req 4.5.3 การสืบสวนอุบัติการณ์ ความไม่สอดคล้อง มาตรการแก้ไขและการป้องกัน         (Incident Investigation, Non-Conformity, Corrective Action and Preventive Action : Check List)

คำว่า อุบัติการณ์ (Incident) หมายถึง เหตุการณ์ต่างๆที่เกี่ยวข้องกับงาน มีการบาดเจ็บและเจ็บป่วยเกิดขึ้น ไม่ว่าจะรุนแรงหรือไม่ก็ตาม หรือเป็นการเกิดอันตรายถึงขั้นเสียชีวิต หรือเป็นเหตุการณ์ที่ทำให้เสียชีวิตได้

คำว่า อุบัติเหตุ (Accident) หมายถึง อุบัติการณ์ซึ่งเกิดการบาดเจ็บ เกิดความเจ็บป่วย หรือเกิดอันตรายถึงขั้นเสียชีวิต


อุบัติการณ์ที่ไม่มีการบาดเจ็บ ความเจ็บป่วย หรือโอกาสที่จะเกิดอันตรายถึงขั้นเสียชีวิต อาจถูกอ้างอิงเหมือน "เหตุการณ์เกือบเกิดอุบัติเหตุ หรือ Near Miss" รวมทั้ง  "เหตุการณ์เกือบกระแทก หรือ Near Hit "
"การรอดพ้นอย่างหวุดหวิด หรือ Close Call" หรือ  "โอกาศที่จะเกิดภัยอันตราย(Dangerous)"
สิ่งที่จะเขียนลงใน Check List เพื่อไปตรวจสอบ เช่น

*  โรงงานจัดทำระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับความไม่สอดคล้อง มาตรการแก้ไขและการป้องกัน (Non-Conformity, Corrective Action and Preventive Action Procedure) หรือยัง และนำไปปฏิบัติจริงหรือไม่ (Implementation)
* ระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับความไม่สอดคล้อง มาตรการแก้ไขและการป้องกัน  มีการชี้บ่งสิ่งที่ไม่สอดคล้องต่อข้อกำหนดหรือไม่
* การปฏิบัติการแก้ไข สามารถบรรเทาผลกระทบด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยได้หรือไม่ อย่างไร
* มีการสืบสวนหาสาเหตุความไม่สอดคล้องหรือไม่ สามารถระบุสาเหตุได้หรือไม่
* ขั้นตอนการดำเนินการแก้ไข สามารถทำให้ปัญหาไม่เกิดซ้ำได้อีกหรือไม่
* มีการวิเคราะห์และนำไปสู่ปฏิบัติการป้องกันไม่ให้เกิดปํญหาในองค์กรได้หรือไม่ มีการประเมินสิ่งจำเป็นที่จะใช้ในการป้องกันไม่ให้เกิดสิ่งที่ไม่สอดคล้องกับข้อกำหนดได้หรือไม่
* ให้ตรวจสอบและดูจาก NCR หรือใบรายงานข้อบกพร่องด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ทั้งจากบุคคลภายนอก และผลจากการทำ Internal Audit
* มีข้อร้องเรียนภายในเกี่ยวกับเรื่องอาชีวอนามัยและความปลอดภัยหรือไม่ ดำเนินการอย่างไร
* มีข้อร้องเรียนภายนอก หรือจากชุมชนรอบข้าง หรือจากภาครัฐ เกี่ยวกับเรื่องอาชีวอนามัยและความปลอดภัยหรือไม่ ดำเนินการอย่างไร
* ให้ตรวจดูเอกสารและบันทึกผลจากการปฏิบัติการแก้ไขและป้องกันทั้งหมด มีสิ่งใดล่าช้าหรือไม่ปฏิบัติหรือไม่ อย่างไร
* มีการทบทวนผลของการปฏิบัติการแก้ไขและป้องกันหรือไม่ ใครรับผิดชอบ ทำไปเมื่อไร มีความเหมาะสมกับขนาดของปัญหาและผลกระทบด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยหรือไม่
* ผลการทบทวนการปฏิบัติการแก้ไขและป้องกัน ได้แก้ไขระเบียบปฏิบัติเกี่ยวกับความไม่สอดคล้อง มาตรการแก้ไขและการป้องกันหรือไม่ ผู้ที่เกี่ยวข้องรับรู้หรือไม่ มีการแจกจ่ายเอกสารให้ครบทุกส่วนงานหรือไม่
* ผู้เกี่ยวข้องและเจ้าหน้าที่ความปลอดภัย มีการตรวจสอบ การเตือน การอบรมชี้แนะจุดอันตรายหรือไม่ และมีการป้องกันอุบัติเหตุไม่ให้เกิดขึ้นอย่างไรบ้าง
* มีการสืบสวนสอบสวนอุบัติเหตุทุกครั้งหรือไม่ อย่างไร
* การสืบสวนสอบสวนหาที่มาของอุบัติเหตุ ทำการบันทึกและรายงานผลหรือไม่ ให้กับใครบ้าง
* มีการระบุการแก้ไขที่จำเป็นอย่างไรบ้าง
* การระบุโอกาสในการป้องกันอย่างไรบ้าง
* มีการปรับปรุงอย่างต่อเนื่องอะไรบ้าง
* มีการสื่อสารผลของอุบัติเหตุ อุบัติการณ์อย่างไร พนักงานรับรู้หรือไม่  มีการแจกจ่ายเอกสารให้ครบทุกส่วนงานหรือไม่
* ขอดูผลการทำรายงานอุบัติเหตุและบันทึกต่างๆทั้งหมด
*  ขอดูผลการตรวจสุขภาพประจำปี วิเคราะห์และสรุปผล เพื่อดำเนินการอย่างไร
* กรณีที่พบพนักงานต้องได้รับการรักษาทางการแพทย์ต่อเนื่อง ดำเนินการไปอย่างไร
* พนักงานที่มีอาการ เช่น หูเริ่มตึง หรือปัญหาโรคจากการทำงาน มีวิธีการอย่างไร
* การปฏิบัติการแก้ไขและป้องกัน มีตวามเหมาะสมด้านความเสี่ยง (Risk) อย่างไรบ้าง และจะดำเนินการอย่างไร

Req 4.5.4  การควบคุมบันทึก (Control of Record: Check List)
(รายละเอียดการควบคุมบันทึก สามารถย้อนกลับไปศึกษาที่ Blog ที่ 4 ของ ISO9001 ใน Web Blog คือ  
http://quality1996-quality1996.blogspot.com/ ) หลักการเหมือนกัน แต่มุ่งเน้นตรวจบันทึกด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

Req 4.5.5  การตรวจติดตามภายใน (Internal Audit : Check List)
(รายละเอียดการตรวจติดตามภายใน สามารถย้อนกลับไปศึกษาที่ Blog ที่ 4 ของ ISO9001 ใน Web Blog คือ  http://quality1996-quality1996.blogspot.com/ ) หลักการเหมือนกัน แต่มุ่งเน้นตรวจประเมินด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
หมายเหตุ ข้อกำหนดเรื่อง Internal Audit ของมาตรฐาน TIS18001:1999 เป็นหมายเลข 4.6.2
ปัจจุบัน TIS 18001 ปรับจาก Version 2542 เป็น 2554 ทำให้ตัวเลขข้อกำหนดเหมือนกันกับ OHSAS 18001:2007 
ยังเขียนไม่แล้วเสร็จ เขียนต่อคราวหน้า ร่างไว้คร่าวๆ เพื่อให้น้องๆที่ต้องการศึกษาเป็นแนวทางไว้ก่อน สงสัยให้เมล์มาถามอีกครั้งที่  ksnationconsultant@hotmail.com  และขอบคุณสำหรับผู้ที่ติดตามทุกท่าน

* เขียนต่อคราวหน้า

เงื่อนไขตามแต่ละหลักสูตรที่กำหนด และได้รับใบ Certificate เมื่ออบรมครบ หรือ/และสอบผ่านเกณฑ์มาตรฐาน KS NATION CONSULTANT CO.,LTD.
ยังมีหลากหลายหลักสูตรฝึกอบรมภายใน รวมทั้งการรวมระบบ ต่างๆเข้าด้วยกัน (Integrated Management Systems: IMS) หลายท่านถามว่าทำไมราคาไม่แพง เหตุผลคือ ทำด้วยใจรัก ในราคาพอเพียงที่ลูกค้าทุกรายพึงพอใจ 

ทีมงานพร้อมให้คำปรึกษา ISO และจัดทำ Pre-Audit, Special Internal Audit, Supplier Audit
สนใจอบรมหลักสูตรต่างๆ ติดต่อที่ K. Nat : ที่ E-Mail : ksnationconsultant@hotmail.com, McQMR@hotmail.com   Mobile :081 3029339
****************************************************************************

การอบรมภายในตระหนักถึงความเป็นส่วนตัวและข้อมูลส่วนบุคคล 

ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562

จึงขอแจ้งให้ทราบว่าจะมีนโยบายความเป็นส่วนตัวแจ้งให้ทราบทุกครั้ง

ที่ติดต่อเรื่องการอบรมภายในเพื่อแจ้ง KS Privacy Policy 

กรณีสงสัยสอบถามได้ที่ E-Mail: ksnationconsultant@hotmail.com  

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น