วันอาทิตย์ที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2554

OHSAS/TIS18001 Check List: Risk Assessment (Blog4)

Blog 4
OHSAS18001:2007 ปรับเปลี่ยนไปเป็น ISO45001:2018

ระบบบริหารสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัยกับชิวิตจริงในโรงงาน 
บริษัท เค เอส เนชั่น คอนซัลแตนท์ จำกัด
KS NATION CONSULTANT CO.,LTD.
เลขที่ 823/28  ถนนพรหมาสตร์  ตำบลบางปลาสร้อย  อำเภอเมือง  จังหวัดชลบุรี  20000
ติดต่อ K.NAT K.Sun Mobile: 081 3029339, 0886560247, 083 2431855
E-Mail:  ksnationconsultant@hotmail.com, isoiatf@hotmail.com   
Bangkok Fax: 02 7441859
Line ID: iatf16949
ให้คำปรึกษาและอบรมทุกระบบ ISO
ให้บริการเป็น QMR/EMR/OHSMR สำหรับ SME 
รักษาระบบ ISO แทนตำแหน่งที่รอสรรหา
"นึกถึงไอโซ่ โทรหา KS" 081 3029339, 088 6560247

ณ วันนี้ ระบบบริหารคุณภาพ ค่อนข้างจะนิ่ง ไม่เปลี่ยนแปลง
ISO9001:2015 ยังน่าจะใช้รับรองอีกสักระยะ ไม่ปรับเวอร์ชั้น
แต่ด้านความปลอดภัยกับด้านแรงงาน น่าจะมีความเข้มงวดขึ้น
วันที่ 1 มิถุนายน 2565 PDPA: Personal Data Protection Act

วันที่ 10 มิถุนายน 2565 จะมีผลบังคับใช้ โรงงานที่มีพนักงาน
ตั้งแต่ห้าสิบคนขึ้นไป ต้องมีจัดทำมาตรฐานระบบการจัดการ
อาชีวอนามัย ความปลอดภัย....
ดังนั้นโรงงานที่ได้รับรอง ISO45001:2018 ถือว่า มีครบถ้วนแล้ว

โรงงานที่ต้องมี บุคลากรเฉพาะรับผิดชอบความปลอดภัยการเก็บรักษาวัตถุอันตราย: บฉ ที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมรับผิดชอบ พ.ศ.2551      มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 18 เมษายน 2554 ช่วงนี้คนเข้าทดสอบมาก
โรงงานที่เข้าข่ายนี้ เข้าใจง่ายๆ คือ
1 มีวัตถุอันตราย 1,000,000 กิโลกรัมต่อปี ทั้งผลิต นำเข้า ส่งออก
2 พื้นที่จัดเก็บวัตถุอันตรายตั้งแต่ 300 ตารางเมตรขึ้นไป
3 เข้าข่ายวัตถุไวไฟ สารออกซิไดซ์ และสารเปอร์ออกไซด์
แต่ถ้ามีใช้สารเคมีอันตรายตั้งแต่ 1,000 กิโลกรัมต่อปี
ต้องรายงานกรมโรงงานอุตสาหกรรมทุกสิ้นเดือนมีนาคมของทุกปี
เพิ่มจากที่ส่งรายงาน สอ.1  วัตถุอันตรายให้กระทรวงแรงงาน
ทุกสิ้นเดือนมกราคมของทุกปี

โรงงานที่ตั้งในนิคมอุตสาหกรรม ที่ใช้ก๊าซไวไฟหรือของเหลวไวไฟ
ที่มีปริมาณครอบครองตั้งแต่ 4,545 กิโลกรัม ต้องทำ 
PSMProcess Safety Management 
เพื่อความปลอดภัยจากไฟไหม้และเกิดการระเบิด
ถ้าทำระบบ ISO จะเข้าใจ มีทำ Internal Audit, Management Review
รวมถึงให้ External Auditor มาตรวจ ณ โรงงาน

หลักสูตรยอดนิยม 
Leadership & Supervisory & POKA YOKE
In-House Training and Consulting
ให้คำปรึกษา จัดทำระบบ อบรมภายใน
การ์ดไม่ตก ใส่แมส จัดระยะห่าง ล้างมือด้วยเจลเสมอ
ISO9001:2015, ISO13485:2016
ISO14001:2015, ISO45001:2018
ISO31000:2018 การบริหารความเสี่ยง ISO&IATF 
ISO14971:2019 RM for Medical Devices
IATF16949:2016, ISO19011:2018 Internal Auditor
Control of Documented Information ทุก ISO
ผู้เข้าอบรมที่ผ่านเกณฑ์ KS ออก Training Certificate ให้ทุกท่าน
Click: quality1996-quality1996.blogspot.com/
Mobile: 0813029339, 0886560247   Line ID: iatf16949
FMEA What’s Change in The New AIAG & VDA 1st Edition 2019. 
หลักสูตรบรรยายหนึ่งวันเต็ม บรรยาย DFMEA, FMEA-MSR และ PFMEA 
     สำหรับโรงงานที่มี Design พนักงานเข้าใหม่ วิศวกรใหม่ หรือผู้สนใจ
การประยุกต์ใช้ PFMEA by AIAG & VDA 1st Edition 2019. 
     New FMEA By AIAG & VDA
AP แทนที่ RPN ติดตามที่ Blog 60 Click: quality1996-quality1996.blogspot.com/

KS Training and Consulting
ให้คำปรึกษา จัดทำระบบ อบรมภายใน
ราคาพอเพียง ลูกค้าพึงพอใจ 
โดยวิทยากรคุณภาพและประสบการณ์ด้าน ISO เป็นเวลาถึง 28 ปี
ผ่านงานทั้ง CB Auditor, QMR/EMR/OHSMR/
Food Safety Team Leader และงานจริงจากโรงงานต่างๆ
"as your require"
หลักสูตรต่างๆ ราคาพิเศษ หรือดูจากโบชัวร์ที่จัดส่งให้

หลักสูตรฝึกอบรม
FMEA What’s Change in The New AIAG & VDA 1st Edition 2019.
การประยุกต์ใช้ PFMEA in The New AIAG & VDA 1st Edition 2019.
ข้อกำหนด การบริหารความเสี่ยง และผู้ตรวจติดตามภายใน
Requirements, Risk Management, Internal Auditor
ISO9001:2015 QMS
ISO14001:2015 EMS
IATF16949:2016 AQMS
Genius QMR/EMR/SMR
ISO45001:2018 OH&SMS
The Manager & Leadership
ISO/FSSC22000:2018 FSMS
GHP/BRC/HACCP/ ISO17025
7 Quality Management Principles
ISO31000:2018 การบริหารความเสี่ยง
Root Cause Analysis/ 5S/ Walk Rally
การคิดแบบมีตรรกะ (Logical Thinking)
ISO13485 Medical Device/ ISO22301 BCMs
ISO19011:2018 แนะนำแนวทางการตรวจประเมิน
Core Tools: APQP/ PPAP/ FMEA/ SPC/ MSA/ 8D
Genius Supervisory/ ISO & IATF16949 Awareness
Control of Documented Information for ISO/IATF16949
การบริหารการเปลี่ยนแปลง (Management of Change: MOC)
หลักสูตรอื่นๆออกแบบให้ตามที่ต้องการอบรม"as your require"

ให้คำปรึกษาและอบรมทุกระบบ ISO
ให้บริการเป็น QMR/EMR/OHSMR สำหรับ SME 
หรือรักษาระบบ ISO ชั่วคราว

สำหรับ ISO45001:2018 แตกต่างกับ OHSAS18001:2007 
มาตรฐานใหม่ฉบับนี้ประกาศใช้แล้วเมื่อวันที่ 12 มีนาคม 2018
แต่ OHSAS18001:2007 ยังให้การรับรองได้จนถึงวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2021 ดังนั้นตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม 2021 จะมีแต่ ISO45001:2018 เข้ามาแทนที่ สามารถคลิ๊กไปอ่านที่ link   http://safetysolving.blogspot.com/

In-House Training and Consulting
ให้คำปรึกษา จัดทำระบบ อบรมภายใน
ISO9001:2015, ISO14001:2015, OHSAS18001:2007, ISO50001
Risk Management of ISO31000/ Follow of ISO New Version
Internal Audit of ISO19011
Environmental Legal/ Aspect/ Risk Assessment 
IATF16949:2016 (TS)/ 8D/ Why Why Analysis
APQP, PPAP, FMEA, MSA, SPC (Integrated 5 Core Tools)
GHP/HACCP/ BRC/IFS/ ISO/FSSC 22000 
GMP Asean/ GMP EU/ Primary GMP
ISO13485, ISO17025, ISO45001, ISO22301 (BCM)
Genius MR (Task of QMR/EMR/OHSMR/EnMR)
SA8000/ ISO26000/ TL9000/ AS9100
The Manager and The Leader (ผู้จัดการและผู้นำ)
Genius Supervisory (หัวหน้างานยอดเยี่ยม)
การสื่อสารสัมฤทธิ์ผล (แนวทางของ ISO และ HO REN SO) 
การเพิ่มผลผลิตแบบ Daily Management
การสอนงานแบบ JI  (Job Instruction) 
Document Writing, 5S, Walk Rally
บรรยายหลักสูตรต่างๆและออกแบบหลักสูตรตามที่ท่านต้องการ

ทีมงานพร้อมจัดทำ Pre-Audit, Special Internal Audit และ Supplier Audit
การรวมระบบต่างๆเข้าด้วยกัน
สนใจติดต่อที่ K. Nat, K. Sun
E-Mail : ksnationconsultant@hotmail.com; Mobile :081 3029339, 083 2431855

ออกใบ Certificate ให้ผู้เข้าอบรมจริงทุกท่าน ค่าฝึกอบรมสามารถนำไปลดหย่อนภาษีได้
ISO9001: 2015, IATF16949, ISO13485 QMS - Medical Devices
link ดูจาก   http://quality1996-quality1996.blogspot.com/
GHP/HACCP/FSSC/ISO22000/ISO17025  link ดูจาก  http://qualitysolving.blogspot.com/
ISO14001, OHSAS18001, SA8000  link ดูจาก  http://safetysolving.blogspot.com/
Check List of ISO (MS):link ดูจาก  http://McQMRtraining-McQMR.blogspot.com/
หรือ SA8000 Check List link ที่    http://McQMRTraining.blogspot.com/

สำหรับโรงงานที่ต้องการควบคุมและกำจัดสัตว์รบกวนและสัตว์พาหะ ทั้งแมลง ปลวก นก หนูต่างๆสามารถติดต่องาน Pest Control โดย Click:   http://www.nanoherb.com
อบรมภายในราคาพิเศษ 
สำหรับลูกค้า KS Nation Consultant Co.,Ltd.
Tel: 081 3029339

บทความด้านระบบการจัดการต่างๆของ McQMR และ Soonthorn  Ngamprompong หรือ                   ของสุนทร งามพร้อมพงศ์ (อาจารย์ศรราม) เป็นลิขสิทธิ์ของบริษัท KS NATION CONSULTANT CO.,LTD. ห้ามสำเนาและคัดลอกโดยไม่ได้รับอนุญาต Copy Right, All Rights Reserved.   

กรณีสงสัยสอบถามได้ที่ E-Mail: ksnationconsultant@hotmail.com ฟรี 

เพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนความรู้ สู่ "โซเชียล ไอโซ่ (Social ISO) เพื่อนแท้ที่แปลกหน้า"

(Blog4: Occupational Health and Safety Check List (ต่อ))

ท่านสามาถ Link บทความได้ ดังนี้
First Web Blog ; คือ http://quality1996-quality1996.blogspot.com/ เป็นเรื่องเกี่ยวกับ ISO9001            จากนั้นจะเขียนต่อ ISO/TS16949, TQM, QCC และ Six Sigma จัดเป็นกลุ่มที่1

Second Web Blog ;คือ  http://qualitysolving.blogspot.com/ เป็นเรื่องเกี่ยวกับอาหาร มี GHP, IFS, HACCP, ISO22000(Food Safety Management System: FSMS), BRC จัดเป็นกลุ่มที่ 2

Third Web Blog ; คือ  http://safetysolving.blogspot.com/ เป็นเรื่องเกี่ยวกับ ISO14001, OHSAS18001, TIS18001, TLS8001, ISO26000, ISO50001 จัดเป็นกลุ่มที่ 3  ที่กำลังเขียน ณ ขณะนี้

กรณีสงสัยสอบถามได้ที่ E-Mail: McQMR@hotmail.com ฟรี

เพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนความรู้สู่ "โซเชียล ไอโซ่ (Social ISO) เพื่อนแท้ที่แปลกหน้า"


ภาพจำลองของ ทัชมาฮาล อินเดีย at Dream World, Thailand

ปัจจุบัน TIS 18001 ปรับจาก Version 2542 เป็น 2554 ทำให้ตัวเลขข้อกำหนดเหมือนกันแล้ว
Check List OHSAS18001/TIS18001 
Requirement  4.3  การวางแผน
ขออธิบาย ตัวเลขของ OHSAS และตัวเลขข้อกำหนดของ TIS18001: 2554 เหมือนกัน

4.3.1  การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment
มีและจัดทำระเบียบปฏิบัติการประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment) หรือไม่
*  จัดทำการประเมินทุกกิจกรรม ทุกผลิตภัณฑ์ และครบทุกกิจกรรมของลักษณะ ความเสี่ยง (Risk)หรือไม่
* ทำการประเมินความเสี่ยง (Risk Assessmentโรงงานสามารถควบคุมได้ กับไม่ได้ ทำอย่างไร มีออกแผนงานความปลอดภัย อะไรบ้าง
การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment)ของโรงงานที่เกิดจากผลกระทบของโครงการ(Project) มีอะไรบ้าง ดำเนินการอย่างไร
* ใครเป็นผู้วิเคราะห์และจัดทำเกี่ยวกับการประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment)
การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment)ที่สำคัญ หรือตัวหลักมีอะไรบ้าง ดำเนินการอย่างไรบ้าง
การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment)ในเวลาเหมาะสมหรือไม่ ครอบคลุมทั้งในอดีต ปัจจุบัน รวมถึงแผนงานในอนาคตด้วยหรือไม่
* การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment)มีความล่าช้าและค้างนานหรือไม่
การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment)ควบคุมถึงเหตุการณ์ทีผิดปกติ และเหตุฉุกเฉินหรือไม่
* ขอดูหลักฐานและบันทึกของแผนงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัยต่างๆ  ว่าดำเนินการ คืบหน้าและค้าง มากน้อยเพียงใด
* กรณีแผนงานที่ได้จากการจัดทำด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยไม่แล้วเสร็จตามเวลาที่กำหนด ดำเนินการอย่างไรต่อไป รวมทั้งการประเมินความเสี่ยงด้านสุขภาพ ดำเนินการอย่างไร
* มีขั้นตอนการลด การกำจัดความเสี่ยง และทดแทนด้วยหลักวิศวกรรมหรือไม่ มีการเตือนและใช้หลักการจัดการด้วยหรือไม่ รวมทั้งการใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล (PPE) หรือไม่อย่างไร

หากสังเกตดู จะพบว่าข้อกำหนด ที่เป็นหมายเลขของ OHSAS 18001 จะเหมือนกันและเท่ากันกับ ISO14001หรือ EMS ปัจจุบัน TIS 18001 ปรับจาก Version 2542 เป็น 2554 ทำให้ตัวเลขข้อกำหนดเหมือนกันกับ OHSAS และ EMS   ยุติการสับสน จากนี้ไปตัวเลขข้อกำหนดเท่ากัน                   

เป้านิ่ง (โปรดอย่าล่าสัตว์)
จากภาพ หากประเมินความเสี่ยงที่นกตัวนี้จะถูกนายพรานล่าค่อนข้างสูง
ปัจจุบันพบว่านกและป่าไม้สูญหายและปริมาณลดลงอย่างมาก

ผู้เขียนผ่านไปถนนรัชดาภิเษก ช่วงจะไปถนนตก พบเหตุการณ์ที่เรียกว่า อุบัติเหตุวินาศสันตะโร พนักงานขับรถเครนก่อสร้าง ไม่ประเมินความเสี่ยงแน่ๆ ว่าพื้นเอียง พอถอยรถเครนเกิดลื่นไหล เกี่ยวลากสายไฟฟ้าและเสาไฟฟ้าโค่นล้มข่าวว่ารวม 34 ต้น ค่าเสียหาย 50 ล้านบาท ตอนนี้ค่าแรงวันละ 300 บาท คูณแล้วไม่รู้ว่ากี่ปี จะชดใช้ค่าเสียหายหมด ทำให้ชาวบ้านเดือดร้อนไฟฟ้าดับกว่าสิบสองชั่วโมง เมื่อเช้าของวันที่ 17 พฤศจิกายน 2555 โชคดี ที่ยังเช้ารถยังสัญจรน้อยและเป็นวันเสาร์ ที่ผู้เขียนเดินทางไปบรรยายมาตรฐาน GMP & HACCP ให้กับโรงงานหนึ่ง ห่างงจากที่นี่ประมาณ 5 กิโลเมตร


ดูที่ตึกสูงกำลังก่อสร้างบริษัททิพยประกันภัย


มองไปที่สถานีน้ำมันบางจาก


เช้าวันเสาร์ รถยังน้อย แต่รถยนต์บางคันก็ได้รับความเสียหาย


รถเครนสีเหลือง คันที่ก่อให้เกิดอุบัติเหตุ

วันนี้ขอพูดถึงเรื่องเกี่ยวกับความปลอดภัยและอุบัติเหตุสักนิด ผู้เขียนจึงเตือนมายังผู้ประกอบการที่ยังไม่เข้าใจ หรือไม่ทราบ 

* ผู้เขียนขอแนะนำทุกๆบริษัท โดยเฉพาะของคนไทย ควรมีผู้บริหารไปอบรม จป.ผู้บริหาร และส่งพนักงานไปอบรม เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยระดับหัวหน้างาน มิฉะนั้นเวลาเกิดอุบัติเหตุ และเรื่องเข้าถึงกองทุนเงินทดแทน เจ้าหน้าที่จะมาตรวจสอบที่สถานประกอบการ ที่ไม่มี จปว. จะเรียกขอ หรือขอดูการอบรมของผู้บริหารและของหัวหน้างานเกี่ยวกับความปลอดภัย หากไม่มีหรือไม่ถูกต้องตามกฎหมาย จะถูกปรับเป็นเงินมากโข เรียกว่าหลายแสนบาทก็มีแล้ว จัดอบรมดีกว่า เวลาเกิดเรื่องจะได้ไม่ยุ่งยาก ยิ่งอะไรที่เกี่ยวกับราชการ หรือกฎหมาย เรียกว่าเหนื่อยมากๆ

* ยิ่งโรงงานหรือบริษัทที่มีพนักงานตั้งแต่ 100 คน (ไม่ใช่ทำบุญร้อยวันนะ แต่เกิดอุบัติขึ้นมา ก็ใช่เลย)
ต้องมีเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยวิชาชีพ หรือ จปว. รวมทั้งบริษัท ที่มีผู้บริหารกลุ่มเดียวกัน หรือมีหลายโรงงานในรั๊วเดียวกัน นับจำนวนพนักงานรวมกันครบ 100 คน ก็เข้าข่าย ลักษณะแบบนี้ยังมีอีกหลายแห่ง หากเกิดอุบัติเหตุ จะถุกตรวจสอบเข้ม และปรับหนักพอสมควร ทำให้ถุกต้อง ปลอดภัยและสบายใจ

* ปัจจุบันโรงงานญี่ปุ่นมาตั้งที่ไทย มักมีพนักงานไม่ถึง 50 คน ไม่ต้องมีเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยด้านเทคนิค ไม่ต้องมี จปว. มักเป็นโรงงานขนาดเล็ก ผลิตชิ้นส่วน หรือ สินค้า ส่งกลับไปให้บริษัทแม่ที่ญี่ปุ่น
แต่นิยมใช้เครื่องที่อัตโนมัติมากขึ้น พนักงานหนึ่งคน คุม 6-8 เครื่องจักรที่ใช้ผลิต ไม่เหมือนแต่ก่อน หนึ่งเครื่องใช้คนคุม 3-4 คน ข้อดีโรงงานญี่ปุ่น คือ เน้น 5 ส และตระหนักถึงเรื่องอุบัติเหตุ เราควรนำสิ่งดีๆมาประยุกต์ใช้กับพนักงานคนไทย

ช่วงที่ผู้เขียนไปบรรยาย OHSAS18001 มีน้องๆถามว่า CCCF Activity ทำดีไหม คืออะไร

ตอบว่า ดีมากครับ หลายๆเรื่องบริษัทโตโยต้า ก็เป็นผู้นำที่ดีต่อสังคม มีทั้งเปิดให้ดูงานร่วมกับสมาคม หรือระบบ TOYOTA System หลายคนสนใจนำไปศึกษามากมาย 
คำว่า CCCF มาจาก Completely Check Completely Find out มักเรียกว่า การจัดการกับเหตุการณ์เฉียด หรือ Near Miss Management
แบ่งลำดับงาน 6 ขั้นตอน คือ
1  กำหนดวัตถุประสงค์ (ของกิจกรรม)
2  ขอบเขตของกิจกรรม (คงต้องชัดเจน ครอบคลุมถึงไหน)
3  กำหนดขั้นตอนการดำเนินงาน
4  แบ่งประเภทอันตราย
5  กำหนดระดับความรุนแรงของอันตราย
6  จัดทำบอร์ด ตรงนี้สำคัญมากๆ เพราะเป็น Visual Control/Check สามารถทราบความคืบหน้า
สมัยผู้เขียนทำ TQM หลายฝ่ายจะกลัวเรื่องบอร์ดเช่นกัน เพราะว่า วันดีคืนนี้มีตัว Monitor ว่าแต่ละฝ่ายทำงานกันอย่างไร ล่าช้าจุดใด มองเห็นชัดเจน หากว่าทุกฝ่ายทำต่อเนื่อง ผลักดันให้ลูกน้องต้องรับผิดชอบงานร่วมกันอย่างชัดเจน บริหารเป็นธรรม สิ่งเหล่านี้ไม่น่าเป็นอุปสรรค

ขอกล่าวสั้นต่อว่า การแบ่งอันตรายของ CCCF แยกเป็น 6 ประเภทคือ
1  อันตรายจากเครื่องจักร
2  อันตรายจากวัตถุหนักตกใส่
3  อันตรายจากยานพาหนะ
4  อันตรายจากการตกจากที่สูง
5  อันตรายจากกระแสไฟฟ้า
6  อันตรายจากสาเหตุอื่นๆ เช่น ไฟไหม้ ของมีคมบาด จากวัตถุร้อน เป็นต้น

ส่วนอันตรายจากกู้นอกระบบ ก็ไม่เกี่ยวกัน ตัวใครตัวเขา น้องๆก็เก็บออมสัก 30% ของเงินเดือนฝากแล้วไม่มีการถอน เกษียณงานแล้วจะได้ไม่ต้องกังวล อย่าไปหวังมาก ว่าจะได้มากๆจากการประกันสังคม เพราะที่นี่ Thailand ไม่ใช่ USA ผู้เขียนมีคนรู้จัก หนีไปทำงานที่อเมริกากว่าสามสิบปีแล้ว ต่อมาได้ใบเขียว (Green Card) ปัจจุบันเกษียณงาน รัฐจ่ายให้ทุกเดือนเกือบสี่หมื่นบาทต่อคน ของเราได้ข่าวจะได้ประมาณ สองพันกว่าถึงสามพันกว่าบาท บวกค่าชราภาพอีกหกร้อยบาท เข้าใจดี ไม่ได้ต่อว่าหน่วยงานประกันสังคม แต่กลับภูมิใจที่เกิดมามีพระเจ้าอยู่หัวที่ดีที่สุด  

เขียนต่อคราวหน้า 

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น