วันศุกร์ที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2554

ระบบบริหารอาชีวอนามัยและความปลอดภัยกับชิวิตจริงในโรงงาน (Blog2: Occupational Health and Safety Check List)

Blog 2
บริษัท เค เอส เนชั่น คอนซัลแตนท์ จำกัด
KS NATION CONSULTANT CO.,LTD.
เลขที่ 823/28  ถนนพรหมาสตร์  ตำบลบางปลาสร้อย  อำเภอเมือง  จังหวัดชลบุรี  20000
ติดต่อ K.NAT K.Sun Mobile: 081 3029339, 081 6493828, 083 2431855
E-Mail:  ksnationconsultant@hotmail.com, isoiatf@hotmail.com   
Bangkok Fax: 02 7441859
Line ID: iatf16949
ให้คำปรึกษาและอบรมทุกระบบ ISO
ให้บริการเป็น QMR/EMR/OHSMR สำหรับ SME 
รักษาระบบ ISO แทนตำแหน่งที่รอสรรหา
"นึกถึงไอโซ่ เซฟตี้ โทรหา" 
081 3029339 ติดต่อ QMR & เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยวิชาชีพ

ณ วันนี้ ระบบบริหารคุณภาพ ค่อนข้างจะนิ่ง ไม่เปลี่ยนแปลง
ISO9001:2015 ยังน่าจะใช้รับรองอีกสักระยะ ไม่ปรับเวอร์ชั้น
แต่ด้านความปลอดภัยกับด้านแรงงาน น่าจะมีความเข้มงวดขึ้น
วันที่ 1 มิถุนายน 2565 PDPA: Personal Data Protection Act

วันที่ 10 มิถุนายน 2565 จะมีผลบังคับใช้ โรงงานที่มีพนักงาน
ตั้งแต่ห้าสิบคนขึ้นไป ต้องมีจัดทำมาตรฐานระบบการจัดการ
อาชีวอนามัย ความปลอดภัย....
ดังนั้นโรงงานที่ได้รับรอง ISO45001:2018 ถือว่า มีครบถ้วนแล้ว

โรงงานที่ต้องมี บุคลากรเฉพาะรับผิดชอบความปลอดภัยการเก็บรักษาวัตถุอันตราย: บฉ ที่กรมโรงงานอุตสาหกรรมรับผิดชอบ พ.ศ.2551      มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 18 เมษายน 2554 ช่วงนี้คนเข้าทดสอบมาก
โรงงานที่เข้าข่ายนี้ เข้าใจง่ายๆ คือ
1 มีวัตถุอันตราย 1,000,000 กิโลกรัมต่อปี ทั้งผลิต นำเข้า ส่งออก
2 พื้นที่จัดเก็บวัตถุอันตรายตั้งแต่ 300 ตารางเมตรขึ้นไป
3 เข้าข่ายวัตถุไวไฟ สารออกซิไดซ์ และสารเปอร์ออกไซด์
แต่ถ้ามีใช้สารเคมีอันตรายตั้งแต่ 1,000 กิโลกรัมต่อปี
ต้องรายงานกรมโรงงานอุตสาหกรรมทุกสิ้นเดือนมีนาคมของทุกปี
เพิ่มจากที่ส่งรายงาน สอ.1  วัตถุอันตรายให้กระทรวงแรงงาน
ทุกสิ้นเดือนมกราคมของทุกปี

โรงงานที่ตั้งในนิคมอุตสาหกรรม ที่ใช้ก๊าซไวไฟหรือของเหลวไวไฟ
ที่มีปริมาณครอบครองตั้งแต่ 4,545 กิโลกรัม ต้องทำ 
PSMProcess Safety Management 
เพื่อความปลอดภัยจากไฟไหม้และเกิดการระเบิด
ถ้าทำระบบ ISO จะเข้าใจ มีทำ Internal Audit, Management Review
รวมถึงให้ External Auditor มาตรวจ ณ โรงงาน

หลักสูตรยอดนิยม 
Leadership & Supervisory & POKA YOKE
In-House Training and Consulting
ให้คำปรึกษา จัดทำระบบ อบรมภายใน
การ์ดไม่ตก ใส่แมส จัดระยะห่าง ล้างมือด้วยเจลเสมอ
ISO9001:2015, ISO13485:2016
ISO14001:2015, ISO45001:2018
ISO31000:2018 การบริหารความเสี่ยง ISO&IATF 
ISO14971:2019 RM for Medical Devices
IATF16949:2016, ISO19011:2018 Internal Auditor
Control of Documented Information ทุก ISO
ผู้เข้าอบรมที่ผ่านเกณฑ์ KS ออก Training Certificate ให้ทุกท่าน
Click: quality1996-quality1996.blogspot.com/
Mobile: 0813029339, 0886560247   Line ID: iatf16949
FMEA What’s Change in The New AIAG & VDA 1st Edition 2019. 
หลักสูตรบรรยายหนึ่งวันเต็ม บรรยาย DFMEA, FMEA-MSR และ PFMEA 
     สำหรับโรงงานที่มี Design พนักงานเข้าใหม่ วิศวกรใหม่ หรือผู้สนใจ
การประยุกต์ใช้ PFMEA by AIAG & VDA 1st Edition 2019. 
     New FMEA By AIAG & VDA
AP แทนที่ RPN ติดตามที่ Blog 60 Click: quality1996-quality1996.blogspot.com/

KS Training and Consulting
ให้คำปรึกษา จัดทำระบบ อบรมภายใน
ราคาพอเพียง ลูกค้าพึงพอใจ 
โดยวิทยากรคุณภาพและประสบการณ์ด้าน ISO เป็นเวลาถึง 28 ปี
ผ่านงานทั้ง CB Auditor, QMR/EMR/OHSMR/
Food Safety Team Leader และงานจริงจากโรงงานต่างๆ
"as your require"
หลักสูตรต่างๆ ราคาพิเศษ หรือดูจากโบชัวร์ที่จัดส่งให้

หลักสูตรฝึกอบรม
FMEA What’s Change in The New AIAG & VDA 1st Edition 2019.
การประยุกต์ใช้ PFMEA in The New AIAG & VDA 1st Edition 2019.
ข้อกำหนด การบริหารความเสี่ยง และผู้ตรวจติดตามภายใน
Requirements, Risk Management, Internal Auditor
ISO9001:2015 QMS
ISO14001:2015 EMS
IATF16949:2016 AQMS
Genius QMR/EMR/SMR
ISO45001:2018 OH&SMS
The Manager & Leadership
ISO/FSSC22000:2018 FSMS
GHP/BRC/HACCP/ ISO17025
7 Quality Management Principles
ISO31000:2018 การบริหารความเสี่ยง
Root Cause Analysis/ 5S/ Walk Rally
การคิดแบบมีตรรกะ (Logical Thinking)
ISO13485 Medical Device/ ISO22301 BCMs
ISO19011:2018 แนะนำแนวทางการตรวจประเมิน
Core Tools: APQP/ PPAP/ FMEA/ SPC/ MSA/ 8D
Genius Supervisory/ ISO & IATF16949 Awareness
Control of Documented Information for ISO&IATF16949
การบริหารการเปลี่ยนแปลง (Management of Change: MOC)
หลักสูตรอื่นๆออกแบบให้ตามที่ต้องการอบรม"as your require"

ให้คำปรึกษาและอบรมทุกระบบ ISO
ให้บริการเป็น QMR/EMR/OHSMR สำหรับ SME 
หรือรักษาระบบ ISO ชั่วคราว

สำหรับ ISO45001:2018 แตกต่างกับ OHSAS18001:2007 
มาตรฐานใหม่ฉบับนี้ประกาศใช้แล้วเมื่อวันที่ 12 มีนาคม 2018
แต่ OHSAS18001:2007 ยังให้การรับรองได้จนถึงวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2021 ดังนั้นตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม 2021 จะมีแต่ ISO45001:2018 เข้ามาแทนที่ สามารถคลิ๊กไปอ่านที่ link   http://safetysolving.blogspot.com/

In-House Training and Consulting
ให้คำปรึกษา จัดทำระบบ อบรมภายใน
ISO9001:2015, ISO14001:2015, OHSAS18001:2007, ISO50001
Risk Management of ISO31000/ Follow of ISO New Version
Internal Audit of ISO19011
Environmental Legal/ Aspect/ Risk Assessment 
IATF16949:2016 (TS)/ 8D/ Why Why Analysis
APQP, PPAP, FMEA, MSA, SPC (Integrated 5 Core Tools)
GMP/HACCP/ BRC/IFS/ ISO/FSSC 22000 
GHP Asean/ GMP EU/ Primary GMP
ISO13485, ISO17025, ISO45001, ISO22301 (BCM)
Genius MR (Task of QMR/EMR/OHSMR/EnMR)
SA8000/ ISO26000/ TL9000/ AS9100
The Manager and The Leader (ผู้จัดการและผู้นำ)
Genius Supervisory (หัวหน้างานยอดเยี่ยม)
การสื่อสารสัมฤทธิ์ผล (แนวทางของ ISO และ HO REN SO) 
การเพิ่มผลผลิตแบบ Daily Management
การสอนงานแบบ JI  (Job Instruction) 
Document Writing, 5S, Walk Rally
บรรยายหลักสูตรต่างๆและออกแบบหลักสูตรตามที่ท่านต้องการ

ทีมงานพร้อมจัดทำ Pre-Audit, Special Internal Audit และ Supplier Audit
การรวมระบบต่างๆเข้าด้วยกัน
สนใจติดต่อที่ K. Nat, K. Sun
E-Mail : ksnationconsultant@hotmail.com; Mobile :081 3029339, 083 2431855

ออกใบ Certificate ให้ผู้เข้าอบรมจริงทุกท่าน ค่าฝึกอบรมสามารถนำไปลดหย่อนภาษีได้
ISO9001: 2015, IATF16949, ISO13485 QMS - Medical Devices
link ดูจาก   http://quality1996-quality1996.blogspot.com/
GHP/HACCP/FSSC/ISO22000/ISO17025  link ดูจาก  http://qualitysolving.blogspot.com/
ISO14001, OHSMS45001, SA8000  link ดูจาก  http://safetysolving.blogspot.com/
Check List of ISO (MS):link ดูจาก  http://McQMRtraining-McQMR.blogspot.com/
หรือ SA8000 Check List link ที่    http://McQMRTraining.blogspot.com/

สำหรับโรงงานที่ต้องการควบคุมและกำจัดสัตว์รบกวนและสัตว์พาหะ ทั้งแมลง ปลวก นก หนูต่างๆสามารถติดต่องาน Pest Control โดย Click:   http://www.nanoherb.com
อบรมภายในราคาพิเศษ 
สำหรับลูกค้า KS Nation Consultant Co.,Ltd.
Tel: 081 3029339
กรณีสงสัยสอบถามได้ที่ E-Mail: ksnationconsultant@hotmail.com ฟรี 
เพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนความรู้ สู่ "โซเชียล ไอโซ่ (Social ISO) เพื่อนแท้ที่แปลกหน้า"
สามารถ Click ดูที่ Web Blog ด้านล่าง

ISO9001: 2015, IATF16949  link ดูจาก   http://quality1996-quality1996.blogspot.com/
GHP/HACCP/ISO22000/ISO17025  link ดูจาก  http://qualitysolving.blogspot.com/
ISO14001, OHSMS45001, SA8000  link ดูจาก  http://safetysolving.blogspot.com/
Check List of ISO (MS):link ดูจาก  http://McQMRtraining-McQMR.blogspot.com/
หรือ SA8000 Check List link ที่    http://McQMRTraining.blogspot.com/

In-House Training and Consulting:
บริษัทให้คำปรึกษาจัดทำทุกระบบ link  : 
http://ksnationconsultant.blogspot.com/  

บริษัทให้คำปรึกษาและฝึกอบรมทุกระบบ/มาตรฐาน และกิจกรรมต่างๆ
Walk Rally เน้นพื้นที่ ระยอง กาญจนบุรี ราชบุรี เพชรบุรี เขาใหญ่/นครนายก ปราจีนบุรี สระแก้ว จันทบุรี ขอนแก่น นครสวรรค์ ลำปาง และเชียงใหม่  

บทความด้านระบบการจัดการต่างๆของ McQMR และ Soonthorn  Ngamprompong หรือ             อาจารย์ศรราม (สุนทร งามพร้อมพงศ์) เป็นลิขสิทธิ์ของบริษัท KS NATION CONSULTANT CO.,LTD. ห้ามสำเนาและคัดลอกโดยไม่ได้รับอนุญาต Copy Right, All Rights Reserved.   
ทีมงานพร้อมให้คำปรึกษา ISO และจัดทำ Pre-Audit, Special Internal Audit, Supplier Audit และ Customer Assign to Factory Audit/Delivery Audit
รับจัดทำและออกแบบหลักสูตรการฝึกอบรมให้เหมาะกับสภาพการณ์จริงของโรงงานและองค์กร

ระบบบริหารสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัยกับชิวิตจริงในโรงงาน

 (Blog2: Occupational Health and Safety Check List ท่านสามาถ Link บทความได้ ดังนี้

ภูเขาทองจำลอง Dream World, Thailand
ยินดีต้อนรับทุกท่าน เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้สู่ "โซเชียล ไอโซ่ (Social ISO) เพื่อนแท้ที่แปลกหน้า"

ในข้อกำหนดและสิ่งที่ต้องทำของระบบอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ต้องมีตัวแทนผู้บริหารหรือตัวแทนฝ่ายบริหาร เรียกว่า MR (Management Representative) โดยใส่ตัว OHS (Occupational Health and Safety) จึงนิยมเรียกขานในโรงงานว่า OHSMR บางโรงงานเรียกย่อๆว่า SMR
ผู้เขียนย้อนเวลาไปเมื่อปีพ.ศ.2542 (ค.ศ. 1999) ยุคนั้น ISO 9001 กำลังมาแรง ลูกค้าส่วนใหญ่ก็รู้จักแต่ ISO9001 เหตุที่พูดแบบนี้ เพราะหลายโรงงานเพิ่งเริ่มศึกษา ISO14001 และ TIS18001 ต่อมาหน่วยงานให้การรับรองระบบ (Certification Body: CB) ไปตกลงกับทางยุโรป ให้ยอมรับ OHSAS18001 จึงกลายเป็นมาตรฐานโลกโดยปริยาย (ปัจจุบันยังไม่ประกาศเป็น ISO 18001) 

ปัจจุบัน OHSAS 18001:2007 ได้ยกเลิกมาตรฐานนี้แล้ว
มาตรฐานใหม่ คือ  ISO45001:2018  คือ ระบบบริหารอาชีวอนามัยและความปลอดภัย และเป็นมาตรฐานที่ให้การรับรอง โดยทุกโรงงาน องค์กรต่างๆ สามารถยื่นขอรับการรับรองได้จากหน่วยงานให้การรับรองระบบ (Certification Body: CB)

อดีต TIS 18001 คือ ระบบบริหารอาชีวอนามัยและความปลอดภัย และเป็นมาตรฐานที่ออกโดยกระทรวงอุตสาหกรรมของไทย บางครั้งเรียกว่า มอก. 18001 หลังจากผู้เขียนจัดทำ Check List เสร็จแล้ว จะมาแจกแจงว่าทั้ง OHSAS18001 และ TIS18001 แตกต่างกันตรงไหน เช่น

TIS18001:2542 กำหนดให้มีการทำ Initial Review แต่ OHSAS18001:2007 ไม่ได้ระบุไว้
ปัจจุบัน TIS18001:2554 เหมือนกับ OHSAS18001:2007 ไม่ได้กำหนดให้ทำ Initial Review
แต่ OHSAS18001 กำหนดชัดว่า ทุกครั้งที่เกิดอุบัติเหตุ (Accident) ต้องทำการประเมินความเสี่ยงทันที (Risk Assessment) ของ TIS18001:2542  มีทำการประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment) เช่นกัน แต่ทำตามระยะเวลาที่กำหนด คือ โรงงานจะทำทุกปี และมักจะทำปีละหนึ่งครั้ง บางโรงงานอาจทำปีละสองครั้ง แล้วแต่กำหนด ซึ่งเป็นจุดที่OHSAS แตกต่างจาก TIS18001:2542

OHSMS45001:2018 Check List :
 เป็นเครื่องมือที่ใช้ตรวจติดตามคุณภาพภายในโรงงาน (ผู้ตรวจประเมินหรือ Auditor ก็มีจัดทำ Check List เช่นกัน) โดยศึกษาจากข้อกำหนดของมาตรฐาว่ามีใจความอย่างไร จากนั้นนำมาระบุเป็นหัวข้อเพื่อใช้ตรวจสอบว่า องค์กรหรือโรงงานทำครบถ้วนหรือไม่ สามารถเพิ่มเติมสิ่งที่ต้องตรวจสอบระบบโดยได้ข้อมูลมาจากระเบียบปฎิบัติ(Procedure) ชุดที่เราจะไปตรวจสอบ ก็คือของฝ่ายที่จะถูกตรวจสอบ

ฉะนั้นเมื่อถูกมอบหมายจาก OHSMR ให้ตรวจสอบฝ่ายใด จะได้รับระเบียบปฎิบัติหลักๆ
เพื่อเตรียมตัวก่อน ดูได้จากดัชนีหลัก หรือบัญชีรายการหลัก ที่นิยมเรียกภาษาอังกฤษว่า Master List ก็จะทราบว่า แต่ละฝ่ายมีกี่ระเบียบปฎิบัติ ได้รับมาครบหรือไม่
ส่วนเรื่องที่ว่า ตรวจให้ครบข้อกำหนดนั้น จะมีเอกสารใบหนึ่งที่ทำเป็นเมทตริก (Matrix) ระบุว่าฝ่ายใดบ้าง ใครบ้างเกี่ยวข้องกับมาตรฐาน เอกสารนี้มักแนบหรือเขียนไว้ในคู่มือการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ( Occupational Health and Safety Manual : OHSM บางโรงงานเรียกสั้นๆว่า SM)

ขอแจ้งข่าว 
OHSAS18001:2007 จะปรับเปลี่ยนไปเป็น ISO45001:2018
จุดประสงค์ของการทำ Check List คือ
1 เพื่อใช้เป็นแนวทางของการตรวจสอบ และสุ่มหาสิ่งที่ไม่เป็นไปตามมาตรฐาน
2 เพื่อช่วยจำและรวบรวมหลักฐานข้อบกพร่องที่พบในระหว่างการตรวจสอ


ขอให้ทุกทีมเตรียมการ ดังนี้
1 หัวหน้าทีมตรวจ เรียกประชุมทีม เพื่อวางแผนการตรวจสอบ เช่นจะไปตรวจสอบพร้อมกันทั้งทีม หรือแบ่งแยกกันไปตรวจสอบ ขึ้นกับเวลา แต่เรื่องเวลานั้น OHSMR มักเปิดกว้างและเผื่อเวลาให้ตรวจสอบเต็มที่เพื่อให้ได้ประสิทธิผลมากที่สุด ไม่เช่นนั้น จะพบบ่อยครั้ง ทำการตรวจสอบภายใน ไม่ค่อยพบปัญหา แต่พอผู้ตรวจสอบ (Auditor) จากข้างนอกหรือ CB มาตรวจสอบ กลับพบมากมาย บางท่านอาจพูดว่า ผู้ตรวจสอบจากภายนอกมีความแม่นในข้อกำหนด ตรวจมามาก ย่อมหาพบมากกว่า ก็จริงเหมือนกัน หากกลับกัน โรงงานต้องฝึกอบรมให้คนในเก่งและทำรายการได้ครบถ้วนแบบคนนอก ตรวจกันจริงจัง บวกกับเป็นคนใน รู้อะไรอีกมากที่คนนอกบางทีก็ไม่เห็น เพราะระบบบริหารคุณภาพด้านอาหาร
เป็นระบบที่ใช้สุ่มตรวจ สิ่งที่ไม่ได้ตรวจ อาจยังมีข้อบกพร่องแฝงอยู่ คือ ยังไม่ถูกรายงานออกมา
สมัยที่ผู้เขียน เป็นผู้ตรวจสอบ โรงงานมักพูดว่า ทำ ISO แล้วปัญหามาก มีข้อบกพร่องตลอด ก็ด้วยเหตุผลว่า ปัญหานั้นมีจริง แต่เพิ่งมารวบรวมและรายงานขึ้นมา
ผู้เขียนจึงบอกว่า ทำISO/OHSAS ให้ทำต่อเนื่องทุกวัน เหมือนเรารับประทานข้าว แต่ชีวิตจริง ก็มักมาเร่งทำก่อนวันถูกตรวจสอบ เหมือนสมัยเรียนหนังสือที่โหมดูกันทั้งคืน เพื่อเข้าสอบในวันรุ่งขึ้น

2 ทีมงานระดมความคิด ช่วยกันเขียนว่าจะตรวจอะไร ใน Check List อาจเผื่อเนื้อที่ว่างไว้ เพราะหลายครั้ง คำถามอาจได้ ณ จุดตรวจสอบ เช่น เพิ่งนึกได้ หรือสถานะการณ์พาไป สามารถเขียนเพิ่มเติมเข้าไปได้ ขอให้บันทึกเป็นข้อมูลว่าตรวจสอบหรือถามอะไรไปบ้าง คราวหน้าจะได้นำมาใช้เป็นประโยชน์หรือเพื่ออ้างอิง

3 ฝึกฝนกันในทีมว่าจะถามอย่างไร บางครั้งใช้คำถามเปิด เช่น ประเมินความเสี่ยงทำอย่างไร? หรือถามว่าการทบทวนแผนอพยบทำอย่างไร? หรือ ทำไมจึงแก้ไขกฎความปลอดภัย? บางครั้งก็ใช้คำถามแบบปิด เช่น เข้าพื้นที่คลังสินค้าต้องใ่ร้องเท้าเซฟตี้(Safety Shoe)ใช่หรือไม่? พื้นที่นี้ให้สูบบุหรีหรือไม่ให้สูบ?


4 กำชับทีมงานให้ถามให้ชัดเจน พูดสุภาพ มีสัมมาคาระวะ อย่าแย่งกันถาม ให้แบ่งหน้าที่ ใครถามนำ อีกคนช่วยจดข้อมูลจะได้รวดเร็วและไม่ตกหล่น หน่วยงานที่ให้การรับรองหรือ CB ก็มีแบ่งหน้าที่ ให้ผู้ตรวจสอบหนึ่งคนเป็น Lead Auditor และที่เหลือ หรืออีกท่านก็เป็นลูกทีมหรือ Auditor คราวหน้าก็สลับหน้าที่
5 ทำ Check List หรือรายการตรวจสอบให้เสร็จก่อนวันไปตรวจจริง หรือบางโรงงานก็มีทำ Check List กลาง คือทุกครั้งที่ไปตรวจสอบก็ใช้ชุดนี้ ซึ่งก็ช่วยทีมตรวจได้มากคือลดเวลา แต่ทีมงานควรนำมาศึกษาและทำเพิ่มเติม และคิดคำถามเพิ่ม ในที่สุดจะได้ Check List ที่สมบูรณ์ขึ้น ดีขึ้นและครอบคลุมมากขึ้น
Check List ตรวจด้านนโยบายอาชีวอนามัยและความปลอดภัย มีดังนี้
 เกี่ยวกับข้อกำหนดทั่วไป ดูที่มาตรฐาน BS OHSAS18001/TIS18001 คือ ข้อที่ 4.1 เหมือนกัน

เกี่ยวกับนโยบายอาชีวอนามัยและความปลอดภัย OHSAS อยู่ในข้อกำหนด ข้อที่ 4.2 แต่มาตรฐาน TIS18001 อยู่ในข้อกำหนด ข้อที่ 4.3 ฉะนั้น TIS18001 มีข้อกำหนดที่ 4.2 หัวข้อ การทบทวนสถานะเริ่มต้น (Initial Review) นับเป็นอีกจุดหนึ่งที่ OHSAS แตกต่างจาก TIS18001
 * มีการตระหนักถึงอาชีวอนามัยและความปลอดภัย อย่างไร ประเมินผลและติดตามผลอย่างไร
 * มีการทวนสอบด้านนโยบายเขียนคำถามเพื่อไปตรวจประเมินภายใน (Internal Audit) เช่น
 * ตรวจสอบขอบข่าย ครอบคลุมอะไรบ้าง มีกิจกรรมที่ปฏิบัติในหัวข้อที่เกี่ยวข้องจริงหรือไม่
 * ตรวจสอบว่าขอบข่ายกับกิจกรรม ต้องสอดคล้องกัน ไม่เกิน ไม่ขาด
 * ให้สอบถามถึงวิธีการได้มาซึ่งนโยบาย และทำอย่างไรให้ประสบผลสำเร็จ
 * ใครเป็นผู้กำหนดนโยบายอาชีวอนามัยและความปลอดภัย(Occupational Health and Safety Policy)
 * การกำหนดนโยบายสอดคล้องกับลักษณะของธุรกิจ ขนาดและลักษณะหรือความเสี่ยงของงานด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย(Occupational Health and Safety Task)หรือไม่
 * นโยบายอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ผู้บริหารมีวิธีการอย่างไรให้เข้าพนักงานทั้งองค์กรเข้าใจและมีส่วนร่วม
 * พนักงานมีความตรายอาชีวอนามัยและความปลอดภัย และผู้บริหารระดับสูงอนุมัติและพิจารณาหรือไม่อย่างไร พร้อมทั้งติดตามผลมากน้อยแค่ไหน มีความมุ่งมั่นในการที่จะปรับปรุงและป้องกันปัญหา โรคที่ผลต่อสุขภาพ และความปลอดภัยในการทำงาน หรือไม่ (หากผู้บริหารไม่มีเลย ผู้ตรวจสอบจากภายนอก จะไม่มั่นใจในสิ่งที่องค์กรจะเดินหน้าต่อไป ว่าจะบรรลุตามเปาหมายและวัตถุประสงค์หรือไม่ หรือแค่ออกนโยบายแล้วก็จบกัน)
 * นโยบายมีการจัดทำเป็นเอกสารแล้วหรือไม่ และได้ประกาศไปทั่วทั้งองค์กรอย่างไร
 * มีความมุ่งมั่นในการที่ปฏิบัติตามกฎหมายหรือไม่
 * ให้ทวนสอบว่าวัตถุประสงค์และเป้าหมายอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ( Occupational Health and Safety Objective and Target) มีความสอดคล้องกับนโยบายอาชีวอนามัยและความปลอดภัย (Occupational Health and Safety Policy) หรือไม่
 * มีการกำหนดความจำเป็นในการทบทวนนโยบายอาชีวอนามัยและความปลอดภัย (Occupational Health and Safety Policy) อย่างไร ความถี่ในการทบทวน เช่น ปีละกี่ครั้ง หรือเมื่อไร โดยใคร
 * ไว้ติดตามที่หน้างานด้วยว่าพนักงานได้รับรู้นโยบายอาชีวอนามัยและความปลอดภัยมากน้อยแค่ไหน มีความเข้าใจหรือไม่ มีส่วนร่วมหรือไม่ อย่างไร
 * มีการแจ้งนโยบายอาชีวอนามัยและความปลอดภัย (Occupational Health and Safety Policy) ให้กับผู้เกี่ยวข้องใดบ้าง ทั้งลูกค้า (Customers) ผู้รับเหมา(Contractors) รวมทั้งผู้รับเหมาช่วง ซัพพลายเออร์ (Suppliers) และชุมชนรอบข้าง
 * มีวิธีการในการแจ้งนโยบายให้กับผู้เกี่ยวข้อง เช่น ลูกค้า (Customers) ผู้รับเหมา (Contractors) ผู้รับเหมาช่วง (Sub-Contractor) ซัพพลายเออร์ (Suppliers) และชุมชนรอบข้างอย่างไร
 * มีการถ่ายทอดนโยบายอาชีวอนามัยและความปลอดภัย (Occupational Health and Safety Policy) ให้กับสาธารณะชนอย่างไร โดยเฉพาะชุมชนรอบข้างโรงงาน
 *ผลลัพท์ที่ได้จากชุมชนหรือ Feed Back เป็นอย่างไร มีการดำเนินการต่ออย่างไรกับ

ขอชี้แจง ต่อไปผู้เขียนจะใส่ข้อกำหนดโดยให้ OHSAS อยู่หน้า และTIS18001:2542 เขียนอยู่ด้านหลัง
 เช่น นโยบายอาชีวอนามัยและความปลอดภัย จะเขียนว่า
 OHSAS/TIS ข้อที่ 4.2/4.3 นโยบายอาชีวอนามัยและความปลอดภัย (Occupational Health and Safety Policy)
 แสดงว่า นโยบายอาชีวอนามัยและความปลอดภัย OHSAS อยู่ในข้อกำหนด ข้อที่ 4.2 แต่มาตรฐาน TIS18001:1999 อยู่ในข้อกำหนด ข้อที่ 4.3

ปัจจุบัน TIS 18001 ปรับจาก Version 2542 เป็น 2554 ทำให้ตัวเลขข้อกำหนดเหมือนกัน OHSAS18001 ไม่ได้กำหนดให้โรงงานต้องทำการทบทวนสถานะเริ่มต้น (Initial Review) แต่จะทำก็ได้

การเขียนคู่มืออาชีวอนามัยและความปลอดภัย(Occupational Health and Safety Manual: SM) โดยผู้เขียนเมอร์สทั้งสองมาตรฐานคือ OHSAS18001 และ TIS18001 เข้าด้วยกัน หลังจากจัดทำ Check List เรียบร้อยสมบูรณ์แล้ว จะนำ ISO14001 หรือ การจัดการด้านสิ่งแวดล้อมมารวมเข้าด้วยกัน หรือเมอร์ส (Merge) เข้ากับการจัดการด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ขออธิบายทีละขั้น จะได้ไม่สับสน



วันนี้ขอพูดถึงเรื่องเกี่ยวกับความปลอดภัยและอุบัติเหตุสักนิด ผู้เขียนจึงเตือนมายังผู้ประกอบการที่ยังไม่เข้าใจ หรือไม่ทราบ 

* ผู้เขียนขอแนะนำทุกๆบริษัท โดยเฉพาะของคนไทย ควรมีผู้บริหารไปอบรม จป.ผู้บริหาร และส่งพนักงานไปอบรม เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยระดับหัวหน้างาน มิฉะนั้นเวลาเกิดอุบัติเหตุ และเรื่องเข้าถึงกองทุนเงินทดแทน เจ้าหน้าที่จะมาตรวจสอบที่สถานประกอบการ ที่ไม่มี จปว. จะเรียกขอ หรือขอดูการอบรมของผู้บริหารและของหัวหน้างานเกี่ยวกับความปลอดภัย หากไม่มีหรือไม่ถูกต้องตามกฎหมาย จะถูกปรับเป็นเงินมากโข เรียกว่าหลายแสนบาทก็มีแล้ว จัดอบรมดีกว่า เวลาเกิดเรื่องจะได้ไม่ยุ่งยาก ยิ่งอะไรที่เกี่ยวกับราชการ หรือกฎหมาย เรียกว่าเหนื่อยมากๆ

* ยิ่งโรงงานหรือบริษัทที่มีพนักงานตั้งแต่ 100 คน (ไม่ใช่ทำบุญร้อยวันนะ แต่เกิดอุบัติขึ้นมา ก็ใช่เลย)
ต้องมีเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยวิชาชีพ หรือ จปว. รวมทั้งบริษัท ที่มีผู้บริหารกลุ่มเดียวกัน หรือมีหลายโรงงานในรั๊วเดียวกัน นับจำนวนพนักงานรวมกันครบ 100 คน ก็เข้าข่าย ลักษณะแบบนี้ยังมีอีกหลายแห่ง หากเกิดอุบัติเหตุ จะถุกตรวจสอบเข้ม และปรับหนักพอสมควร ทำให้ถุกต้อง ปลอดภัยและสบายใจ

* ปัจจุบันโรงงานญี่ปุ่นมาตั้งที่ไทย มักมีพนักงานไม่ถึง 50 คน ไม่ต้องมีเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยด้านเทคนิค ไม่ต้องมี จปว. มักเป็นโรงงานขนาดเล็ก ผลิตชิ้นส่วน หรือ สินค้า ส่งกลับไปให้บริษัทแม่ที่ญี่ปุ่น
แต่นิยมใช้เครื่องที่อัตโนมัติมากขึ้น พนักงานหนึ่งคน คุม 6-8 เครื่องจักรที่ใช้ผลิต ไม่เหมือนแต่ก่อน หนึ่งเครื่องใช้คนคุม 3-4 คน ข้อดีโรงงานญี่ปุ่น คือ เน้น 5 ส และตระหนักถึงเรื่องอุบัติเหตุ เราควรนำสิ่งดีๆมาประยุกต์ใช้กับพนักงานคนไทย

น้องใหม่ที่เพิ่งจบ ต้องไปอ่านบทความใน

First Web Blog ; คือ  http://quality1996-quality1996.blogspot.com/เป็นเรื่องเกี่ยวกับ ISO9001 เพื่อปูพื้นฐานด้านระบบการจัดการ ซึ่งการสร้างระบบจะคล้ายกันทุกๆมาตรฐาน แต่มีข้อกำหนดที่แตกต่างกัน

ปัจจุบันยังทำ Free Lance และวิทยากรสอน ISO ให้กับหน่วยงานแห่งหนึ่งซึ่งลูกค้าส่วนใหญ่ก็เป็นโรงงานญี่ปุ่น และใช้บางเวลามาร่วมกับน้องเก่าและเพื่อนๆ เพื่อจัดทำที่ปรึกษาแบบราคาพอเพียง เพื่อนำความรู้และประสบการณ์จริงจากโรงงานและชีวิตผู้ตรวจสอบในอดีตถ่ายทอดออกมา และเขียนลง Web Blog ซึ่งมีมากมายและหลายๆระบบการจัดการ ก่อให้เกิดประโยชน์ด้านความรู้ระบบการจัดการ(Management Systems) การทำที่ปรึกษาแบบราคาไม่แพงให้กับโรงงานคนไทย หรือโรงงานทั่วไป ยกเว้นลูกค้าจากโรงงานญี่ปุ่นที่เป็นลูกค้าของหน่วยงานที่ผู้เขียนร่วมงาน ณ ปัจจุบันแบบฟรีแลนด์จะไม่รับงานส่วนตัวใดๆทั้งสิ้น นอกจากนี้หากว่าท่านศึกษาบทความของผู้เขียน และทำระบบเองได้ ไม่จำเป็นต้องจ้างที่ปรึกษา เพราะคนไม่ป่วยไม่ต้องการหมอ หากสงสัยบางประเด็นก็สอบถามมา ยินดีให้คำแนะนำฟรี ก็มีน้องๆโรงงานผลิตอาหาร โรงงานกระจก โรงงานพลาสติก อื่นๆสอบถามมาเสมอ

OHSAS/TIS18001 ข้อกำหนด 4.3 การวางแผน

ปัจจุบัน TIS 18001 ปรับจาก Version 2542 เป็น 2554 ทำให้ตัวเลขข้อกำหนดเหมือนกัน
ล่าสุด ปัจจุบันใช้ ISO45001:2018 มีข้อกำหนดปรับใหม่ 10 Requirements

ขียนต่อคราวหน้า...........................................................................................................

การอบรมภายในตระหนักถึงความเป็นส่วนตัวและข้อมูลส่วนบุคคล 

ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562

จึงขอแจ้งให้ทราบว่าจะมีนโยบายความเป็นส่วนตัวแจ้งให้ทราบทุกครั้ง

ที่ติดต่อเรื่องการอบรมภายในเพื่อแจ้ง KS Privacy Policy 

กรณีสงสัยสอบถามได้ที่ E-Mail: ksnationconsultant@hotmail.com  



ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น